Page 108 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 108
102
2.1 การสนับสนุนและการผลักดันของหน่วยงาน - สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.
ล้านนา ได้มีการสนับสนุนให้กลุ่มงาน และบุคลากรในหน่วยงานด าเนินการจัดการความรู้อย่างจริงจัง โดยมี
การก าหนดเป้าหมายการจัดการความรู้ไว้ในแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
2.2 เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ที่มีความชัดเจน - การด าเนินการจัดการความรู้ โดยใช้
กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิบัติงานที่มีผลลัพท์และกระบวนการ
ปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถน ามาเสริมสร้างกระบวนการจัดการความรู้ในองค์กร และท าให้เห็นแนวทางและ
โอกาสที่จะสามารถยกระดับการจัดการความรู้ในองค์กรได้ส าเร็จ เป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์
2.3 ความร่วมมือของบุคลากร - ความร่วมมือระหว่างบุคลากรกลุ่มอ านวยการและ กลุ่มงานคลัง
ความรู้ชุมชน รวมถึงบุคลากรภายใน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน สามารถส่งเสริมให้การจัดการความรู้
ในโครงการประสบความส าเร็จ
2.4 ความตระหนักถึงความส าคัญในการใช้องค์ความรู้ต่อการพัฒนาองค์กรบุคลากร - สถาบัน
ถ่ายทอดเทคโนโลยีได้ให้ความส าคัญในเรื่องการจัดการความรู้โดยได้วางการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งของ
แผนพัฒนาบุคลากรในองค์กร จึงท าให้การด าเนินการโครงการประสบความส าเร็จ
2.5 สภาพแวดล้อมในองค์กร - การที่หน่วยงานสามารถสร้างสภาวะแวดล้อม อีกทั้งบรรยากาศ
การท างานที่ดี สามารถช่วยให้บุคลากรเกิดความต้องการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข
ปัญหาและอุปสรรค
1. ความแตกต่างระหว่างวัย ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
2. ประสบการณ์ ในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ให้ได้ซึ่งข้อมูลประสิทธิภาพ
3. การขาดความรู้ ความช านาญการใช้เทคโนโลยี ของบุคลากร
4. การสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ ระหว่างบุคคล
แนวทางการแก้ไข
1. สร้างแรงกระตุ้น แรงจูงใจ ต่อการสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อการเรียนรู้
2. สนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมด้านการสังเคราะห์ วิเคราะห์และการเรียนรู้ การ
ใช้เทคโนโลยี อย่างสม่ าเสมอ
3. ส่งเสริมและเสริมสร้างบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ ให้มากยิ่งขึ้น
สรุป
การด าเนินการศึกษาการจัดการความรู้ในสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยใช้วงจรการพัฒนาระบบ
(SDLC) เป็นเครื่องมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการความรู้ สร้างแนวปฏิบัติที่ดี ในหน่วยงานและมุ่งสร้าง
รูปแบบ (Model) และนวัตกรรมการพัฒนาระบบงาน โดยใช้กระบวนการการท างาน ซึ่งเป็นกระบวนการที่อยู่
ในงานประจ าของการพัฒนาระบบสารสนเทศ มาพัฒนาเป็นเครื่องมือ ในการช่วยกระตุ้นให้เกิดการจัดการ
ความรู้ในองค์กรและยกระดับการพัฒนางานให้เกิดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยใช้
กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศการเงิน งบประมาณ เป็นกรณีศึกษา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกลุ่มงาน
อ านวยการและกลุ่มงานคลังความรู้ชุมชน ซึ่งผลการด าเนินงานในครั้งนี้ท าให้เกิดผลดังนี้
1. รูปแบบ (Model) นวัตกรรมการพัฒนาระบบงาน ที่มีมาตรฐาน - เกิดรูปแบบ (Model) นวัตกรรม
การพัฒนาระบบงาน ที่มีมาตรฐาน ผ่านหลักวิชาการและเหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน