Page 109 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 109
103
2. องค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดี ของหน่วยงาน - เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (COP) และเวทีในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ กระบวนการเรียนรู้ผ่านการมีส่วนร่วมของบุคลากรในหน่วยงาน อีกทั้งยังเป็น
แบบอย่างในการสร้างแนวปฏิบัติที่ดีต่อการพัฒนาระบบงานอื่นๆ
3. การยกระดับประสิทธิภาพ การให้บริการของหน่วยงาน - ยกระดับหน่วยงานให้สามารถบริการ
ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งให้ผล
ความพึงพอใจต่อผู้รับบริการระบบสารสนเทศทางการเงิน งบประมาณ ที่ระดับคะแนนเฉลี่ย 92.40% จากผู้
ประเมินจ านวน 31 คน
4. การยกระดับศักยภาพบุคลากร - ยกระดับศักยภาพบุคลากร ในการสร้างความรู้ กระบวนความคิด
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล รวมถึงการยกระดับความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการท างานและการ
สร้างความมกลมเกลียวในองค์กร
5. ความท้าทายในการยกระดับองค์กร - การจัดการความรู้ เสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร ท าให้
องค์กรสามารถยกระดับและเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน พัฒนาเข้าสู่องค์กรแห่งความเป็นมาตรฐาน
บรรณานุกรม
ณพศิษฏ์ จักรพิทักษ์. 2552. ทฤษฎีการจัดการความรู้, เชียงใหม่: วิทยาลัยศิลปะสื่อ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบสารสนเทศการเงิน งบประมาณ สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่
ชุมชน มทร.ล้านนา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://docs.google.com/
forms/d/e/1FAIpQLSebEJDagsGmRmDspTA665fheHFK2xr7MkfCpOgWfUEmAHA/viewan
alytics (วันที่ค้นข้อมูล: 15 ตุลาคม 2559).
วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://hirin-np.blogspot.com/2011/01/sdlc.html (วันที่ค้นข้อมูล: 15 ตุลาคม 2559).
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน. ประวัติความเป็นมา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www2.cttc.rmutl.ac.th/web/pagecontent.php?S_ID=1 (วันที่ค้นข้อมูล: 1
พฤศจิกายน 2559).
ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. 2548. คู่มือการจัดการความรู้:
ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ, กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิต
แห่งชาติ.
ภาคผนวก