Page 340 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 340

334








































                                                 ภาพที่ 1  สินค้าดั้งเดิมของชุมชนหนองโสน


                       จากการลงพื้นที่ส ารวจความต้องการของชุมชนหนองโสน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคของชาวบ้านคือ
               ผลิตภัณฑ์มีน้ าหนักมาก ไม่สามารถสร้างความแตกต่างของสินค้าได้ สินค้าประเภทเดียวกันมีการผลิตเป็น
               จ านวนมาก ท าให้ไม่มีความโดดเด่นและขายได้ราคาต่ า กระบวนการผลิตไม่ทันสมัย ลดต้นทุนไม่ได้ เพิ่ม

               ประสิทธิภาพและจ านวนยาก จึงเป็นประเด็นความท้าทายในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และการ
               สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าท้องถิ่นในจังหวัดนครราชสีมา เป็นโจทย์ผลักดันให้อาจารย์ในสาขาวิศวกรรมโยธา
               คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ได้น าองค์ความรู้จาก

               งานวิจัยเพื่อไปเผยแพร่และน าความรู้ไปใช้ในชุมชนท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สร้าง
               ความแตกต่าง สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าท้องถิ่นในจังหวัดนครราชสีมา

               วิธีการด าเนินงาน


                       จากประเด็นปัญหาของชาวบ้านชุมชนหนองโสนเป็นโจทย์ประเด็นในการจัดการความรู้ในครั้งนี้ ซึ่งมี
               วัตถุประสงค์เพื่อน าองค์ความรู้ไปปรับปรุงกระบวนการผลิต และพัฒนาสัดส่วนผสมใหม่ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์

               สินค้าของชาวบ้านชุมชนหนองโสนมีน้ าหนักเบา ซึ่งจะส่งผลให้ลดต้นทุนการผลิตและการขนส่ง เพิ่มผลก าไร
               สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า มีวิธีการด าเนินงาน 6 ขั้นตอน ดังนี้
   335   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345