Page 79 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 79

73



                                            ลงพื้นที่ส ารวจความต้องการของชุมชน
                                                         ชุมชน


                           ลงนามบันทึกข้อตกลงเบื้องต้นทางด้านบริการวิชาการระหว่างคณะศิลปศาสตร์และชุมชน



                                             ประชุมวางแผนการด าเนินโครงการ



                                          น า  KM  Tools มาใช้ในการด าเนินโครงการ


                                           ติดตามผลและสรุปผลการด าเนินโครงการ



                                            ภาพที่ 2 ขั้นตอนการด าเนินงานทางด้านบริการวิชาการ


                       ในการให้การบริการวิชาการเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งต่อชุมชน ได้มีการน าเครื่องมือการจัดการความรู้
               (KM tools) มาใช้ด าเนินการ ได้แก่


                       1. ทีมข้ามสายงาน (Cross-Functional Team) ฝ่ายบริการวิชาการคณะศิลปศาสตร์ ได้มีการจัดตั้ง

               ทีมงานที่มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญจากทุกสาขาในคณะเพื่อด าเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะกับความ

               ต้องการของชุมชนเป้าหมาย ได้แก่ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์เพื่อส่งเสริมอาชีพแก่ชุมชน โดยคณาจารย์หลักสูตร
               การโรงแรม ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวโดยคณาจารย์หลักสูตรภาษาอังกฤษ  การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปร

               สภาพวัสดุเหลือใช้เป็นพลังงานระดับครัวเรือนโดยเตาชีวมวลโดยคณาจารย์หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์ และการ
               เป็นเจ้าบ้านที่ดีในการต้อนรับนักท่องเที่ยวโดยหลักสูตรการท่องเที่ยว  เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชุมชนซึ่งมี

               หลากหลายกลุ่มอาชีพ โดยมีการประชุมหารือในกลุ่มทีมงานอย่างสม่ าเสมอ  ดังภาพที่ 3




















                                        ภาพที่ 3 การประชุมการด าเนินงานทางด้านบริการวิชาการ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84