Page 74 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 74
68
ทั้งนี้การด าเนินการส ารวจหลักสูตรที่เป็นความต้องการของชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขตสกลนคร สามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อีก 3 วิทยาเขต และยัง
สามารถประยุกต์ใช้ได้กับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีก 8 แห่ง หรือมหาลัยอื่นๆได้
ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
การด าเนินการในรูปแบบใหม่ นอกจากเจ้าขององค์ความรู้และผู้เข้าอบรมจะได้รับผลกระทบในทางที่ดี
แล้ว หน่วยงานหรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ยังได้ทราบหลักสูตรที่พร้อมจะ
ถ่ายทอดจากการรวบรวมหลักสูตร เพื่อน าไปส ารวจความต้องการที่พร้อมจะถ่ายทอด และผลที่ได้จากการ
รวบรวมหลักสูตรที่พร้อมจะถ่ายทอดนั้น ยังเป็นการหากลุ่มเป้าหมายให้กับเจ้าขององค์ความรู้ เพื่อให้เจ้าขององค์
ความรู้เตรียมความพร้อมในการเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งทุน ทั้งภายใน
มหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอก
ซึ่งในปีงบประมาณ 2557- 2559 โครงการบริการวิชาการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายมี
แนวโน้มของการได้รับการจัดสรรงบประมาณและจ านวนโครงการที่เพิ่มขึ้น ดังแผนภูมิแสดง
จากแผนภูมิแสดงงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ในปีงบประมาณ 2557– 2559 พบว่า แนวโน้มของ
งบประมาณที่ได้รับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดความส าเร็จคือ การส ารวจข้อมูลความต้องการที่เป็น
ความต้องการอย่างแท้จริงที่จะเข้ารับการฝึกอบรมจากมหาวิทยาลัย โดยการให้ผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้เลือก
หลักสูตร และคิดหลักสูตร โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ตรงตามความต้องการของ
ชุมชน และหาเครือข่ายกรณีที่มหาวิทยาลัยไม่มีองค์ความรู้ในหลักสูตรนั้นๆ และเมื่อเป็นความต้องการของชุมชนที่
แท้จริงแล้ว การน าไปใช้ประโยชน์ของชุมชนก็สามารถน าไปใช้ได้จนก่อให้เกิดความเชี่ยวชาญและสามารถถ่ายทอด
องค์ความรู้ให้แก่คนอื่นๆได้ ท าให้เกิดกระบวนการสร้างสรรค์หลักสูตร เสริมสร้างเครือข่าย สรรสร้างวิทยากร