Page 7 - petitionserve
P. 7
บทที่ 1
บทน า
1.1 ความเป็นมาและความส าคัญ
คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พระนคร มีวัตถุประสงค์จัดการศึกษาที่มุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพ
ิ
ตามมาตรฐานสากล สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม บริหารจัดการองค์กรด้วยหลักธรรมาภบาล
ให้บริการวิชาการแก่สังคม ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันคณะเทคโนโลยี
สื่อสารมวลชน มีรากฐานมาจากการจัดการศึกษาในแผนกวิชาการโฆษณาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 ที่วิทยาเขตพณิชยการพระนคร (เดิม) โดยได้ผลิตบุคลากร
นักปฏิบัติการเข้าสู่วิชาชีพสื่อสาร มวลชนในสาขาต่างๆ จนมาถึงปี พ.ศ. 2546 เพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของสังคม จึงได้ขยายการจัดการการศึกษาจากระดับ ปวส. เป็นระดับปริญญาตรี ภายใต้ชื่อ
“คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน” โดยมีจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยี
บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชนแบ่งเป็น 4 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกเทคโนโลยีการโฆษณา
และประชาสัมพันธ์วิชาเอกเทคโนโลยีการโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง วิชาเอกเทคโนโลยี
มัลติมีเดีย และวิชาเอกครีเอทีฟมีเดียเทคโนโลยี
งานทะเบียนเป็นงานส่วนหนึ่งที่ส าคัญในการด าเนินงานภายใต้การก ากับดูแลของงานวิชาการ
วิจัยและบริการวิชาการ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน โดยมีหน้าที่และความผิดชอบ จัดระบบทะเบียน
และประวัตินักศึกษา การวัดและประเมินผลการศึกษา การรับสมัครสอบคัดเลือกนักศึกษาใหม่ หนังสือ
รับรองผลการศึกษา ปฏิทินการศึกษา และงานการรับบริการค าร้อง รวมทั้งหมด 14 กระบวนการ
ได้แก่ (1) การขอคืนสภาพกลับเข้าเป็นนักศึกษา (2) การขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา (3) การลา
พักการศึกษา (4) การขอลาออก (5) การขอเทียบโอนรายวิชา (6) การขอเพิ่ม/ถอนเปลี่ยน/การ
ลงทะเบียน (7) การขอลงเรียน/ช าระเงินล่าช้า (8) การขอส าเร็จการศึกษาและขอขึ้นทะเบียนบัณฑิต
(9) การขอลงทะเบียนเรียนข้ามคณะ (10) การขอลงทะเบียนเรียนข้ามสถานศึกษา (11) การขอผ่อนผัน
การช าระเงินค่าลงทะเบียนเรียน (12) การท าบัตรประจ าตัวนักศึกษา (13) การเลือกสาขาวิชา (14)
การขอย้ายห้องเรียน ตลอดจนจัดท าเอกสารทางการศึกษา โดยยึดระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ พร้อมทั้ง
ประสานงานกับส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติงาน
จ าเป็นต้องมีความละเอียดรอบคอบในการทวนสอบหลักฐานต่าง ๆ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้อง จึงจ าเป็นที่จะต้องศึกษาและมีแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานหรือถือปฏิบัติเป็นไปในแนวทาง