Page 146 - Technology and AI for learning transformation through self-development
P. 146
10. ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินโครงการ และแนวทางการแก้ไข
ปัญหา อุปสรรค
10.1 วิทยาลัยส่วนใหญ่ที่พบจะขาดงบประมาณในการจัดซื้อครุภัณฑ์
10.2 ขาดผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ด้าน PLC ด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI)
แนวทางการแก้ไข
10.3 กรมอาชีวศึกษา ควรเข้าไปดูแลและพิจารณางบในการจัดอบรมพฒนาบุคลากรในแต่ละท้องที่ตาม
ั
ความต้องการ
10.4 กรมอาชีวศึกษา ควรมีงบสนับสนุนครุภัณฑ์ทางการศึกษาที่ทันสมัยและตรงตามความต้องการกับยุคปัจจุบัน
11. ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้น
(**ขอให้ระบุผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพของแต่ละ
โครงการ รวมถึงความคุ้มค่าในการด าเนินโครงการ)
ผลลัพธ์ (Outcome) ผลกระทบ (Impact)
1) บุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ มี 1) บุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ มี
ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน
การจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี การจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ดังนี้ ประสิทธิภาพ แต่ในด้านสถานศึกษาขาดงบประมาณ
วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงธน คิดเป็นร้อยละ 87.20 ในการจัดซื้อครุภัณฑ์ในด้านเทคโนโลยีและ
ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 86) ปัญญาประดิษฐ์และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
วิทยาลัยเทคโนโลยียานยนต์ คิดเป็นร้อยละ 87.51
ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 86)
วิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ
90.40 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้
ร้อยละ 86)
2) บุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ Re- 2) บุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ Re-
skills/ Up- skills/New-skills ทั ก ษ ะ ก า ร ส ร้ า ง skills/Up-skills/New-skills ทักษะการสร้าง
นวัตกรรมเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ ร้อยละ 85 นวัตกรรมเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ แต่ในด้าน
ดังนี้ สถานศึกษาส่วนใหญ่ขาดการจัดกิจกรรม Re-
วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงธน คิดเป็นร้อยละ 86.78% skills/Up-skills/New-skills ให้กับบุคลากรทาง
ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 85) การศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยียานยนต์ คิดเป็นร้อยละ
89.30% ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ
85)
วิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ
89.07% ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (เกณฑ์ที่ตั้งไว้
ร้อยละ 85)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น
โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (หน้า 8)