Page 104 - 10riskmanage
P. 104
5.1.10 ขั้นตอนกำรทบทวนผลกำรจัดกำรตำมแผนบริหำรควำมเสี่ยง
ปัญหำ : ขั้นตอนการทบทวนผลการจัดการตามแผนบริหารความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบในแต่ละส่วนงานยังขาดการ
ุ
น าเสนอปัญหา และอปสรรคในการด าเนินงานบริหารความเสี่ยง ส่งผลกระทบให้ขั้นตอนการทบทวนผลการ
ด าเนินงานขาดข้อมูลจริง
แนวทำงแก้ไข :
ุ
ในขั้นตอนการทบทวนผลการจัดการตามแผนบริหารความเสี่ยง ต้องน าเสนอปัญหา และอปสรรคใน
ิ
ื่
การด าเนินงานที่แท้จริง เสนอต่อผู้บริหารของหน่วยงานพจารณาให้ข้อเสนอแนะ เพอทบทวนประสิทธิภาพของ
ั
แนวการบริหารความเสี่ยงในขั้นตอนที่มีปัญหา เพอพฒนากระบวนการในรอบปีงบประมาณถัดไป รวมถึงพฒนา
ั
ื่
ระบบให้ทันสมัยและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานจริง
5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำงำนหรือปรับปรุงงำน
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานในด้านการบริหารความเสี่ยงมาเป็นระยะเวลานาน และ
จากการด าเนินงานบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครได้ด าเนินการภายใต้แนว
ทางการด าเนินงานประกันคุณภาพ ที่ได้ก าหนดให้มีตัวบ่งชี้ในการน าระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ในการกระบวน
ั
ื่
การบริหารการศึกษา ตามตัวบ่งชี้ การบริหารของสถาบันเพอการก ากับติดตามผลลัพธ์ตามพนธกิจกลุ่มสถาบัน
และเอกลักษณ์ของสถาบัน เกณฑ์มาตรฐาน 3 ด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์
และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการด าเนินงานตาม
ั
พนธกิจของสถาบันและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม ดังนั้น ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยง
ื่
จึงเสนอแนวทางการพฒนาและปรับปรุงงานเพอให้งานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล และสามารถประหยัด
ั
ทรัพยากร กล่าวคือ การผลักดันให้การด าเนินงานบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยมีความ
ชัดเจนยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้ผู้บริหารระดับสูงมีการสนับสนุนงานความเสี่ยงอย่างจริงจัง โดยน าเทคโนโลยีสารสนเทศ
ิ่
มาใช้กับงานบริหารความเสี่ยงให้มากยิ่งขึ้น เพมช่องทางการสื่อสารหรือช่องทางการเข้าถึงข้อมูลของความเสี่ยง
ิ
ผ่านระบบอเล็กทรอนิกส์ (E-Services) อาทิ ระบบปฏิทินการประชุมงานบริหารความเสี่ยงโดยเฉพาะ (E-Risk
Calendar) การเข้ากลุ่มในแอพพลิเคชันไลน์ การประชาสัมพนธ์ระบบงานบริหารความเสี่ยงผ่านสื่อแผ่นป้าย
ั
ิ
อเล็กทรอนิกส์เพอสื่อสารถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิผลของความเสี่ยง และสร้างบรรยากาศการท างาน
ื่
กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่บุคลากรที่รับผิดชอบงานด้านบริหารความเสี่ยงเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น และเป็นส่วน
ช่วยในการบริหารความเสี่ยงในเรื่องของการสร้างระบบการเตือนภัยที่ชัดเจนและทันเหตุการณ์มากขึ้นเมื่อเกิด
วิกฤตการณ์ความเสี่ยง อีกทั้งยังลดเวลาและลดปริมาณกระดาษได้อีกด้วย
88