Page 100 - 10riskmanage
P. 100
บทที่ 5
ปัญหำอุปสรรคและแนวทำงในกำรแก้ไขและพัฒนำงำน
คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ื่
ุ
ั
ผู้จัดท าได้รวบรวมปัญหาอปสรรค แนวทางแก้ไข และข้อเสนอแนะเพอการพฒนาจากการประชุม อบรม สัมมนา
เกี่ยวกับด้านการบริหารความเสี่ยง และจากการปฏิบัติงานจริงของผู้ปฏิบัติงานบริหารความเสี่ยง โดยสรุปไว้ดังนี้
5.1 ปัญหำอุปสรรค และแนวทำงแก้ไข
5.1.1 ขั้นตอนกำรรับนโยบำยและแนวทำงกำรด ำเนินงำนกำรบริหำรควำมเสี่ยง
ปัญหำ : ผู้บริหารหน่วยงานในระดับคณะ สถาบัน ส านัก บางท่านอาจไม่ตระหนักถึงความส าคัญในกระบวนการ
บริหารความเสี่ยง เมื่ออธิการบดีให้นโยบายและแนวทางการด าเนินงานการบริหารความเสี่ยงแล้วไม่มีการถ่ายทอด
องค์ความรู้ต่อ ขาดการน านโยบายไปถ่ายทอดลงสู่ระดับปฏิบัติการ ท าให้บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
การบริหารความเสี่ยง ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาและอปสรรคในการรับรู้กระบวนการบริหารความเสี่ยงของ
ุ
มหาวิทยาลัย บุคลากรของหน่วยงานไม่ทราบความส าคัญในการลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่ท าให้มหาวิทยาลัย
เกิดความเสียหายซึ่งอาจเกิดผลกระทบของการบรรลุเป้าหมายของมหาวิทยาลัยได้
แนวทำงแก้ไข :
ผู้บริหารหน่วยงานในระดับคณะ สถาบัน ส านัก ควรน านโยบายการบริหารความเสี่ยงไปถ่ายทอดลง
สู่ระดับปฏิบัติการ อาทิ การจัดประชุม อบรม เพื่อให้บุคลากรเห็นถึงความส าคัญของโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด
ความเสียหาย หรือเหตุการณ์ที่ไม่พงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตที่ส่งผลกระทบท าให้การด าเนินงานไม่ประสบ
ึ
ื่
ความส าเร็จตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัย เพอให้การก าหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงของ
หน่วยงานมีความชัดเจน สามารถน าไปเป็นกรอบการบริหารความเสี่ยงได้
5.1.2 กำรจัดท ำแผนบริหำรควำมเสี่ยงของหน่วยงำน ในขั้นตอนกำรระบุและวิเครำะห์ควำมเสี่ยง
ปัญหำ : การจัดท าแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานยังเป็นหน้าที่ของกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ยังไม่เกิดขึ้นทั่ว
ทั้งหน่วยงานนั้นๆ ท าให้เกิดปัญหาในขั้นตอนการระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยง เนื่องจากต้องประเมินโอกาสที่จะ
เกิดความเสี่ยง และประเมินระดับความรุนแรงจากความเสี่ยงที่ต้องมีการประเมินร่วมกัน หากการระบุและ
วิเคราะห์ความเสี่ยงเกิดจากกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ท าให้ไม่สามารถก าหนดการควบคุมความเสี่ยงได้อย่าง
เหมาะสม และไม่สามารถวางแผนการจัดสรรทรัพยากรได้อย่างถูกต้อง
แนวทำงแก้ไข :
ควรจัดประชุมคณะกรรมการความเสี่ยงของหน่วยงาน หรือจัดประชุมหารือระหว่างผู้บริหาร
ระดับกลาง อาทิ รองคณบดีแต่ละฝ่ายกับผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละด้านทั้งฝ่ายวิชาการและสายสนับสนุนในการ
ิ
ื่
ระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยง เพอให้การพจารณาความเสี่ยงครอบคลุมการด าเนินงานด้านต่างๆ ของพนธกิจ
ั
หน่วยงานนั้นๆ ซึ่งจะท าให้ทราบความเสี่ยงที่แท้จริง
84