Page 101 - 10riskmanage
P. 101

5.1.3 กำรจัดท ำแผนบริหำรควำมเสี่ยงของหน่วยงำน ในขั้นตอนกำรประเมินควำมเสี่ยง

               ปัญหำ : ผู้บริหารหรือบุคลากรของหน่วยงานไม่เห็นความจ าเป็นของการบริหารความเสี่ยง มักประเมินภารกิจที่
               ตนเองรับผิดชอบไม่มีความเสี่ยงหรือมีความเสี่ยงน้อย เนื่องจากการรักษาภาพลักษณ์ของการด าเนินงานของตนไว้
               อาทิ ความเสี่ยงด้านการเงิน ส่งผลให้การก าหนดเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินความเสี่ยง ได้แก่ ระดับโอกาสที่จะ

                                                                    ิ
               เกิดความเสี่ยง และระดับความรุนแรงของผลกระทบ ขาดดุลยพนิจในการก าหนดเกณฑ์ดังกล่าวได้ รวมถึง เกณฑ์
               ในเชิงปริมาณ อาจมีการก าหนดข้อมูลตัวเลข หรือจ านวนเงินมาใช้ในการวิเคราะห์ไม่เหมาะสม อาจส่งผลกระทบ

               ต่อการด าเนินงานในภารกิจนั้นๆ และอาจส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานในภาพรวมของมหาวิทยาลัยได้
               แนวทำงแก้ไข :
                           ผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับภาระกิจการสื่อสารข้อมูลควรก าหนดแนวทาง วิธีการ หรือ

                  ิ่
                                                                                            ื่
               เพมช่องทางการสื่อสารข้อมูลและเผลแพร่การบริหารความเสี่ยงให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพอสร้างการรับรู้และ
               กระตุ้นให้บุคลากรเกิดความสนใจ เข้าใจ ตระหนักถึงความจ าเป็นของการบริหารความเสี่ยง บุคลกรผู้ปฏิบัติงาน
               เข้าใจหลักการ เทคนิคการประเมินความเสี่ยง ท าให้จัดระดับความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้กระบวนการ
               บริหารความเสี่ยงเป็นระบบและมีความต่อเนื่องมากยิ่งขึ้น


                     5.1.4 ขั้นตอนกำรจัดท ำแผนบริหำรควำมเสี่ยง

               ปัญหำ : คณะกรรมการความเสี่ยงหรือผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละด้านของการบริหารความเสี่ยง ขาดการค านึงถึง
               ผลการประเมินการควบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่เดิม ในกรณีที่เคยมีแผนความเสี่ยงที่มีอยู่เดิมแล้วว่ากิจกรรมในแผน
                                  ี
               บริหารความเสี่ยงมีเพยงพอหรือไม่ ส่งผลให้การก าหนดกิจกรรมในแผนป้องกันหรือลดโอกาสการเกิดมูลเหตุของ
               ความเสี่ยงไม่ได้ ไม่มีกิจกรรมที่ครอบคลุมการด าเนินงานที่รัดกุมเพียงพอต่อการจัดการความเสี่ยง
               แนวทำงแก้ไข :

                           ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละด้านของการบริหารความเสี่ยงต้องประเมินผลการควบคุมเดิมที่มีอยู่ว่าผล
               เป็นอย่างไร กิจกรรมในแผนบริหารความเสี่ยงมีเพยงพอหรือไม่รายงานให้ผู้บริหารหรือคณะกรรมการความเสี่ยง
                                                         ี
                       ื่
               ทราบ เพอน าไปสู่การจัดจัดท าแผนบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ มีการก าหนดกิจกรรมในแผนบริหารความ
               เสี่ยงที่เข้มข้น สามารถลดโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้


                     5.1.5 ขั้นตอนกำรก ำหนดกิจกรรมในแผนบริหำรควำมเสี่ยง
               ปัญหำ : เมื่อคณะกรรมการความเสี่ยงหรือผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละด้านของการบริหารความเสี่ยงระบุแผนบริหาร

               ความเสี่ยงแล้ว ขั้นตอนต่อไปต้องก าหนดกิจกรรมในแผนบริหารความเสี่ยงนั้นๆ เพอจัดการกับความเสี่ยง แต่
                                                                                      ื่
               กิจกรรมในแผนบริหารความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากการก าหนด

               กิจกรรมยังเป็นการก าหนดจากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ขาดการระดมสมอง และยังคงใช้
               ความรู้สึกของผู้บริหารหรือบุคลากรที่รับผิดชอบในการด าเนินการบริหารความเสี่ยงก าหนดกิจกรรมในแผนบริหาร

               ความเสี่ยง



                                                             85
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106