Page 32 - 10riskmanage
P. 32
ึ
ประสิทธิภาพ) สอดคล้องกับดัชนีชี้วัดด้านการบริหาร ระยะ 15 ปี คือ ระดับความพงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ในด้านการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยตามหลักธรรมาภิบาล ดัชนีชี้วัดระยะ 5 ปี คือ ร้อยละความเสี่ยงที่ลดลงของ
มหาวิทยาลัย
3.1.1.5 มหาวิทยาลัยต้องรายงานการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการตรวจสอบประจ า
มหาวิทยาลัย ในรอบประจ าปีงบประมาณ (12 เดือน)
ุ
3.1.1.6 มหาวิทยาลัยต้องรายงานการบริหารความเสี่ยงต่อกระทรวงการอดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม ในรอบประจ าปีงบประมาณ (12 เดือน)
3.1.2 โครงสร้ำงกำรบริหำรควำมเสี่ยง
มหาวิทยาลัยมีโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงจ านวน 4 ระดับ คือ ระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ
ระดับสถาบัน/ส านัก/ศูนย์ และระดับหน่วยงานในสังกัดส านักงานอธิการบดี ดังนี้
3.1.2.1 ระดับมหาวิทยาลัย รับผิดชอบโดย คณะกรรมการการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ภายใต้นโยบายและการก ากับดูแลของอธิการบดี ประกอบด้วย
อธิการบดี เป็นประธาน
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและกายภาพ เป็นรองประธาน
บุคลากรอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ทั้งนี้ คู่มือฉบับนี้ ผู้เขียนจะอธิบายถึงการบริหารความเสี่ยงในระดับมหาวิทยาลัย
3.1.2.2 ระดับคณะ รับผิดชอบโดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ ภายใต้การก ากับดูแล
ของคณบดี ประกอบด้วย
คณบดี เป็นประธาน
รองคณบดีที่ได้รับมอบหมาย เป็นรองประธาน
บุคลากรอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
3.1.2.3 ระดับสถาบัน/ส านัก/ศูนย์ รับผิดชอบโดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ
มหาวิทยาลัย/ส านัก/กอง ภายใต้การก ากับดูแลของหัวหน้าหน่วยงาน ประกอบด้วย
หัวหน้าหน่วยงาน สถาบัน/ส านัก/ศูนย์ เป็นประธาน
รองหัวหน้าหน่วยงาน เป็นรองประธาน
บุคลากรอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
3.1.2.4 ระดับหน่วยงานในสังกดส านักงานอธิการบดี รับผิดชอบโดย คณะกรรมการประกันคุณภาพ
ั
การศึกษา ภายใต้การก ากับดูแลของผู้อ านวยการส านักงานอธิการบดี ประกอบด้วย
ผู้อ านวยการส านักงานอธิการบดี เป็นประธาน
บุคลากรอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
22