Page 36 - 10riskmanage
P. 36

ผู้เกี่ยวข้อง                          หน้ำที่และควำมรับผิดชอบ
                 (6) คณบดี/ผู้อ านวยการสถาบัน/ส านัก/  (1) ส่งเสริมให้มีการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงาน

                 ศูนย์                              (2) ให้ความเห็นชอบแผนการบริหารความเสี่ยงหน่วยงาน
                                                    (3) เสนอรายงานผลการบริหารความเสี่ยงต่อประธานคณะ
                                                    กรรมการบริหารความเสี่ยงหน่วยงาน


                     3.1.7 กระบวนกำรบริหำรควำมเสี่ยง
                           กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่ใช้ในการระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และจัดระดับ

               ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของกระบวนการท างานของหน่วยงาน มหาวิทยาลัย ใช้หลักการ
               บริหารความเสี่ยงตามกรอบการบริหารความเสี่ยงส าหรับองค์กรของ COSO มาประยุกต์ใช้ในการบริหารความ

               เสี่ยง โดย COSO มีรายละเอียด ดังนี้
                           COSO : The Committee of Sponsoring Organisations of The Treadway Commission คือ
                                                               ั
               สมาคมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพของสหรัฐอเมริกา ได้พฒนาแนวทางการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน
               และการก ากับดูแลกิจการที่ดีขึ้นในปี พ.ศ. 2544 และได้ประกาศกรอบการบริหารความเสี่ยงส าหรับองค์กรในปี
               พ.ศ. 2547 ซึ่งองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลกได้ใช้กรอบการบริหารความเสี่ยงนี้เป็นแนวทางปฏิบัติ เพอให้
                                                                                                         ื่
               เป็นไปตามมาตรฐานสากลโดยทั่วกัน (จิรพร สุเมธีประสิทธิ์ : 2560)


                     3.1.8 ประเภทของควำมเสี่ยง
                           แผนบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยจะต้องมีประเภทของความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน เพอให้
                                                                                                         ื่
               เกิดการควบคุมหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย ตัวอย่างประเภทของความเสี่ยง (เกศริน ภัทรเปรมเจริญ
               : 2557)

                           (1) ความเสี่ยงด้านทรัพยากร อาทิ การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่
                           (2) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของสถาบัน

                           (3) ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
                           (4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น กระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงา
                                        ั
                                    ระบบประกนคุณภาพ
                           (5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และ
                               บุคลากร

                                                  ์
                           (6) ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก
                           ทั้งนี้ สามารถพิจารณาความเสี่ยงอื่นๆ ที่แตกต่างไปจากนี้ได้ตามบริบทของมหาวิทยาลัย








                                                             26
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41