Page 41 - 10riskmanage
P. 41

ความรุนแรงของผลกระทบ วิธีการบริหารจัดการกับความเสี่ยง มีความเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง

               โดยมีเป้าหมายในการติดตามผล คือ การจัดการความเสี่ยงที่ได้มีการด าเนินการไปแล้ว บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
               ของการบริหารความเสี่ยงหรือไม่ สามารถลดโอกาสหรือผลกระทบของความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือไม่
               โดยหน่วยงานต้องสอบทานดูว่า วิธีการบริหารจัดการความเสี่ยงใดมีประสิทธิภาพดีก็ให้ด าเนินการต่อไป หรือ

               วิธีการบริหารจัดการความเสี่ยงใดควรปรับเปลี่ยน และน าผลการติดตามไปรายงานให้ฝ่ายบริหารทราบตามแบบ
               รายงานที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การก าหนดความถี่ในการติดตามผล เป็นการติดตาม ตามรอบระยะเวลาที่ก าหนด 2

               ครั้งต่อปี (ทุก 6 เดือน) ได้แก่ เดือนเมษายน และเดือนตุลาคม และการทบทวน เป็นการทบทวนประสิทธิภาพของ
                                                     ื่
                                                        ั
               แนวการบริหารความเสี่ยงในทุกขั้นตอน เพอพฒนาระบบให้ทันสมัยและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานจริงเป็น
               ประจ าทุกปี


               3.2 ข้อควรระวังในกำรปฏิบัติงำน
                     3.2.1 ในการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน ต้องมีองค์ประกอบของ
               คณะกรรมการครบถ้วน ซึ่งมีตัวแทนของผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดท าแผนการบริหารความเสี่ยง อาทิ

               คณบดีเป็นประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เนื่องจากคณบดีเป็นผู้บริหารสูงสุดของคณะ เป็นผู้น ากรอบ
               นโยบายจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยมาถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ไปจนถึงบุคลากรที่มีหน้าที่

                                                                          ื่
               ปฏิบัติงานด้านการบริหารความเสี่ยง เป็นกรรมการและเลขานุการ เพอวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบหรือสร้าง
               ความเสียหายหากเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง และประเมินความเสี่ยง รวมถึงการติดตามและประเมินผลการ
               ด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                     3.2.1 มหาวิทยาลัยต้องมีการประเมินมาตรการควบคุมความเสี่ยงเดิมที่มีอยู่ ซึ่งส่วนมากไม่มีการประเมิน
               มาตรการควบคุม ท าให้ไม่ทราบว่าวิธีการควบคุมความเสี่ยงเดิมนั้นป้องกันหรือลดความเสี่ยงเหล่านั้นได้หรือไม่

               ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงจ าเป็นที่จะต้องวิเคราะห์และประเมินการควบคุมเดิมนั้นก่อน ถ้าประเมินแล้วพบว่าการ
               ควบคุมนั้นไม่ได้ผลตามความต้องการของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการความเสี่ยงต้องพจารณาแผนความเสี่ยงและ
                                                                                       ิ
               มาตรการควบคุมความเสี่ยงนั้นใหม่
                     3.2.3 ทุกกระบวนการของการจัดท าแผนบริหารความเสี่ยง ต้องมีการวิเคราะห์หาสาเหตุของความเสี่ยง

               และปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลให้การด าเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงไม่ประสบผลส าเร็จ และควรให้ความส าคัญ
               กับการวิเคราะห์ความเสี่ยงในขั้นตอนของการก าหนดเป้าหมาย เพอลดความเสี่ยง โอกาส หรือผลกระทบที่จะท า
                                                                       ื่
               ให้มหาวิทยาลัยไม่บรรลุเป้าหมายแผนการพัฒนามหาวิทยาลัย

                     3.2.4 ผู้ปฏิบัติงานบริหารความเสี่ยงต้องพึงระลึกอยู่เสมอว่าความเสี่ยงไม่ใช่ปัญหา (ปัญหา หมายถึง สภาพ
               ในปัจจุบันที่เป็นอปสรรคท าให้การด าเนินงานขาดประสิทธิภาพ) แต่ความเสี่ยงเป็นสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น ความเสี่ยง
                              ุ
               ไม่ใช่ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งถ้าผู้ปฏิบัติงานบริหารความเสี่ยงเข้าใจผิดพลาดอาจด าเนินการวิเคราะห์
               ความเสี่ยงผิดได้ ส่งผลกระทบให้การจัดการความเสี่ยงไม่มีประสิทธิภาพ







                                                             31
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46