Page 39 - 10riskmanage
P. 39
3.1.13 กำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง
การบริหารจัดการความเสี่ยง เป็นการน ากลยุทธ์ มาตรการ หรือแผนงานมาใช้ปฏิบัติในมหาวิทยาลัย
ื่
หรือ คณะ สถาบัน ส านัก ศูนย์ และส านักงานอธิการบดี เพอลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง หรือลดความเสียหาย
ของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยง ในการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมที่ยังไม่มีกิจกรรมควบคุมความเสี่ยง
ี
หรือที่มีอยู่แต่ยังไม่เพยงพอ และน ามาวางแผนจัดการความเสี่ยง (ศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยงมหาวิทยาลัยมหิดล :
2557)
ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยงมีหลายวิธี และสามารถปรับเปลี่ยน
ิ
หรือน ามาผสมผสานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับดุลยพนิจของฝ่ายบริหารผู้รับผิดชอบ โดย
สามารถจัดแบ่งวิธีจัดการได้หลายวิธี ดังนี้
(1) การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) เป็นการตกลงกันที่จะยอมรับความเสี่ยงที่
เกิดขึ้น เนื่องจากไม่คุ้มค่าในการจัดการหรือป้องกันความเสี่ยง แต่อย่างไรก็ตามหากหน่วยงานเลือกที่จะบริหาร
ความเสี่ยงด้วยวิธีนี้จะต้องมีการติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงอย่างสม่ าเสมอ
(2) การลด/การควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เป็นการปรับปรุงระบบการท างาน
หรือการออกแบบวิธีการท างานใหม่ เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย หรือลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความ
เสี่ยงให้อยู่ในระดับที่หน่วยงานยอมรับได้เช่น การจัดอบรมเพิ่มทักษะในการท างานให้กับบุคลากร
(3) การกระจายความเสี่ยง หรือการโอนความเสี่ยง (Risk Sharing) เป็นการกระจายหรือ
ื่
ั
ถ่ายโอนความเสี่ยงให้หน่วยงานอนช่วยแบ่งความรับผิดชอบไป เช่น การท าประกนภัย/ประกันทรัพย์สิน กับบริษัท
ประกัน หรือการจ้างบริษัทภายนอกมาจัดการในงานบางอย่างแทน เช่น งานรักษาความปลอดภัย เป็นต้น
(4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) เป็นการจัดการกับความเสี่ยงที่อยู่ใน
ระดับสูงมาก และหน่วยงานไม่อาจยอมรับความเสี่ยงได้จึงต้องตัดสินใจยกเลิกโครงการ/กิจกรรม ที่จะก่อให้เกิด
ความเสี่ยงนั้นไป
วิธีการจัดการความเสี่ยงของแต่ละหน่วยงานอาจมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม
ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น บางหน่วยงานอาจเลือกการควบคุมอย่างเดียวแต่สามารถควบคุมได้หลายความเสี่ยง หรือ
บางหน่วยงานอาจเลือกการควบคุมหลายวิธีร่วมกันเพอควบคุมความเสี่ยงส าคัญเพยงเรื่องเดียว ดังนั้น เมื่อ
ื่
ี
ิ
หน่วยงานทราบความเสี่ยงที่ยังเหลืออยู่จากการประเมินความเสี่ยง ให้พจารณาความเป็นไปได้และค่าใช้จ่ายของ
แต่ละทางเลือกเพอการตัดสินใจเลือกมาตรการลดความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยพจารณาจาก (จิรพร
ิ
ื่
สุเมธีประสิทธิ์ : 2560)
ื่
(1) พิจารณาว่าจะยอมรับความเสี่ยง หรือจะก าหนดกิจกรรมควบคุมเพอลดความเสี่ยงให้อยู่
ในระดับที่ยอมรับได้ซึ่งผู้บริหารจะเป็นผู้ก าหนดระดับความเสี่ยงที่หน่วยงานยอมรับได้
ั
(2) พจารณาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต้นทุนในการจัดการให้มีมาตรการควบคุมกบผลประโยชน์
ิ
ที่จะได้รับจากประสิทธิผลของมาตรการดังกล่าว ว่าคุ้มค่าหรือไม่
29