Page 25 - 4-22trainingpro
P. 25
15
ุ
ุ
มาตรฐานการอดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติในสถาบันอดมศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะกรอบมาตรฐาน
ุ
ั
คุณวุฒิระดับอดมศึกษามีแนวทางที่ชัดเจนในการพฒนาหลักสูตร การปรับเปลี่ยนกลวิธีการสอนของ
ึ
อาจารย์ การเรียนรู้ของนักศกษา ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพอให้มั่นใจว่าบัณฑิตจะบรรลุ
ื่
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวังได้จริง
2. มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) ซึ่งเป็นมาตรฐาน
ขั้นต่ าเชิงคุณภาพ เพอประกันคุณภาพบัณฑิต และสื่อสารให้หน่วยงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจ และ
ื่
มั่นใจถึงกระบวนการผลิตบัณฑิต โดยเริ่มที่ผลผลิต และผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา คือ ก าหนดมาตรฐาน
ื่
ิ
ผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังไว้ก่อน หลังจากนั้นจึงพจารณาถึงองค์ประกอบอน ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่จะส่งเสริมให้บัณฑิตบรรลุถึงมาตรฐานผลการเรียนรู้นั้นอย่าง
สอดคล้อง และส่งเสริมกันอย่างเป็นระบบ
3. มุ่งที่จะประมวลกฎเกณฑ์ และประกาศต่าง ๆ ที่ได้ด าเนินการไว้แล้วเข้าด้วยกัน และ
เชื่อมโยงเป็นเรื่องเดียวกัน ซึ่งจะสามารถอธิบายให้ผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับความหมาย และ
ความมีมาตรฐานในการจัดการศึกษาของคุณวุฒิหรือปริญญาในระดับต่าง ๆ
ุ
4. มุ่งให้คุณวุฒิ หรือปริญญาของสถาบันอดมศึกษาใด ๆ ของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ และ
ุ
เทียบเคียงกันได้กับสถาบันอดมศึกษาที่ดีทั้งใน และต่างประเทศ เนื่องจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอดมศึกษาจะช่วยก าหนดความมีมาตรฐานในการจัดการศึกษาในทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ โดยเปิด
ุ
โอกาสให้สถาบันอดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตร ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย
ุ
โดยมั่นใจถึงผลผลิตสุดท้ายของการจัดการศึกษา คือ คุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้
ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจเป็นที่พงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต และ
ึ
เป็นคนดีของสังคม ช่วยเพิ่มความเข้มแข็งและขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการจัดท ากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ื่
ั
1. เพอเป็นกลไก หรือเครื่องมือในการน าแนวนโยบายการพฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ิ่
การศึกษาตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 เกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการอดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง
ุ
เป็นรูปธรรม ด้วยการน าไปเป็นหลักในการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียน การสอน และการประเมินผล
การเรียนรู้ของนักศึกษา
ื่
2. เพอก าหนดเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตให้ชัดเจน โดยก าหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้
ื่
ของบัณฑิตที่คาดหวังในแต่ละคุณวุฒิ/ปริญญาของสาขา/สาขาวิชาต่าง ๆ และเพอให้สถาบันอดมศึกษา
ุ
และผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญในสาขา/สาขาวิชาได้ใช้เป็นหลัก และเป็นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุง
ั
ั
เปลี่ยนแปลง และพฒนาการจัดการศึกษา เช่น การพฒนาหลักสูตร การปรับเปลี่ยนกลวิธีการสอนวิธีการ
เรียนรู้ ตลอดจนกระบวนการวัด และการประเมินผลนักศึกษา
3. เพอเชื่อมโยงระดับต่าง ๆ ของคุณวุฒิในระดับอดมศึกษาให้เป็นระบบ เพอบุคคลจะได้มี
ื่
ุ
ื่
ู
โอกาสเพมพนความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และหลากหลายตามหลักการศึกษาตลอดชีวิต มีความชัดเจนและ
ิ่
โปร่งใส สามารถเทียบเคียงกับมาตรฐานคุณวุฒิในระดับต่าง ๆ กับนานาประเทศได้
ุ
4. เพอช่วยให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอดมศึกษา และเป็นกลไกในการประกัน
ื่
ุ
คุณภาพภายในของสถาบันอดมศึกษาทุกแห่ง และใช้เป็นกรอบอางองส าหรับผู้ประเมินของการประกัน
ิ
้
คุณภาพภายนอกเกี่ยวกับคุณภาพบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน