Page 46 - 5-13higherposition
P. 46
๓๙
ข้อควรระวัง/ข้อสังเกตในการเสนอขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้น
ผู้เสนอขอก าหนดต าแหน่งสูงขึ้นในต าแหน่งประเภทผู้บริหาร ต าแหน่งประเภททั่วไป และ
ต าแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ในแต่ละระดับควรตรวจสอบความเรียบร้อยสมบูรณ์
ของเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของผลงาน และเอกสารที่เกี่ยวข้องว่า มีความบกพร่องหรือ
ขาดสิ่งส าคัญหรือไม่ อย่างไร โดยผู้เขียนมีตัวอย่างข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตที่สามารถรวบรวมได้ ดังนี้
๑. การใส่เลขหน้าในส่วนประกอบที่เป็นเนื้อหาของคู่มือปฏิบัติงาน และการเปลี่ยน
ต าแหน่งเลขหน้า หรือเว้นเลขหน้า ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักสากล
๒. การเขียนอ้างอิงไม่ถูกต้องและครบถ้วนตามเนื้อหา
๓. การอ้างอิงในเนื้อหา รูปภาพ และตาราง ไม่ถูกต้อง
๔. การอ้างอิงรูปและตารางไม่ระบุแหล่งที่มาของข้อมูลว่ามาจากแหล่งใด
ี
๕. เนื้อหาในคู่มือปฏิบัติงานบางเล่มมีรายละเอยดไม่ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
มหาวิทยาลัยก าหนด
๖. การเขียนคู่มือปฏิบัติงานต้องมีสารบัญ และภาคผนวก
๗. การใส่เลขก ากับภาพหรือก ากับตารางไม่ถูกต้อง ขาดการอธิบายความเกี่ยวกับภาพ
๘. การเขียนคู่มือปฏิบัติงานควรมีภาษาเป็นของตนเอง ไม่ใช้ภาษาพด ควรใช้ภาษาที่เป็น
ู
ทางการ
๙. มีการจัดเรียงล าดับขั้นตอนและการใช้ค าศัพท์ที่ไม่ซับซ้อน
๑๐. ตรวจสอบการพิมพ์ให้ถูกต้อง ไม่ให้เกิดข้อบกพร่องในการพิมพ์ผิด
๑๑. งานวิจัยที่น าไปเผยแพร่ในที่ประชุมทางวิชาการ หรือวารสารทางวิชาการ ต้องแสดง
ส่วนประกอบส าคัญของการเผยแพร่ในครั้งนั้น ได้แก่ หน้าปก ค าน า สารบัญ เนื้อเรื่อง รายชื่อคณะกรรมการ
บรรณาธิการ ในครั้งนั้นด้วย มิใช่แสดงแต่เฉพาะเนื้อเรื่องงานวิจัย
๑๒. การน าเสนอเป็นบทความวิจัยต่อที่ประชุมทางวิชาการ ซึ่งภายหลังจากการประชุม
ทางวิชาการได้มีการบรรณาธิการและน าไปรวมเล่มเผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ
(Proceedings) ของการประชุมทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ
๑๓. ข้อควรระวังตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ไม่ควรน าข้อมูล
ตัวบุคคลและการอางองข้อมูลตัวบุคคล ได้แก่ ชื่อ – สกุล หมายเลขประจ าตัวประชาชน ภาพถ่ายบุคคล
้
ิ
หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น ไปใช้เป็นตัวอย่าง อ้างถึง กล่าวอ้าง ในผลงาน