Page 15 - 5-1onlineleave
P. 15
9
ผู้มีอ ำนำจพิจำรณำหรืออนุญำตกำรลำ
้
ั้
ส่วนราชการใดมีขาราชการหลายประเภท ให้หัวหนาส่วนราชการนนมีอ านาจพิจารณา
้
ี่
้
ั้
หรืออนญาตการลาส าหรับขาราชการทุกประเภททอยู่ในสังกัดส่วนราชการนน และจะมอบหมาย
ุ
หรือมอบอ านาจโดยทาเป็นหนงสือให้แก่ผู้ดารงตาแหนงอื่นเป็นผู้พิจารณาหรืออนญาตการลา
ั
ุ
่
แทนก็ได้ โดยค านึงถึงระดับต าแหน่งและความรับผิดชอบของผู้รับมอบอ านาจเป็นส าคัญ
กำรควบคุมกำรปฏิบัติงำน
การควบคุมการปฏิบัติงานของข้าราชการ มีหลักเกณฑ์ดังน
ี้
1. การนับเวลาให้นับตามปีงบประมาณ
2. การลาครึ่งวันตอนเช้าหรือตอนบ่าย ให้นับเป็นการลาครึ่งวัน ตามประเภทของการลานั้นๆ
้
3. การลงเวลา ให้จัดทาบัญชลงเวลาการปฏิบัตราชการของขาราชการในสังกัด หรือ
ิ
ี
ใช้เครื่องบันทึกเวลาการปฏิบัติราชการแทนก็ได ้
4. การลาให้ใช้ใบลาตามแบบฟอร์มที่ก าหนด หรือน าระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ก็ได ้
สิทธิกำรได้รับเงินเดือนระหว่ำงลำ
การไดรับเงินเดอนระหว่างลา ให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดอน เงินปี
ื
ื
้
ี
บ าเหน็จ บ านาญ และเงินอื่นในลักษณะเดยวกัน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2539
และ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555
ประเภทกำรลำ
การลาของข้าราชการ แบ่งออกเป็น 11 ประเภท
1. การลาป่วย
2. การลาคลอดบุตร
3. การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
4. การลากิจส่วนตัว
5. การลาพักผ่อน
6. การลาอุปสมบท หรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
7. การลาเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล