Page 48 - 6-1inspectparcel
P. 48
42
ื้
ถือเป็นความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างได้ขออนุญาตเข้าพนที่ก่อสร้างจนถึง
้
ื่
วันที่ผู้ว่าจ้างส่งมอบพนที่ให้แก่ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างน าไปอางเป็นเหตุเพอขอขยายเวลาท าการ
ื้
ตามสัญญาได้
4. 9.2 เหตุสุดวิสัย
ในงานก่อสร้าง “เหตุสุดวิสัย” จะมีความหมายค่อนข้างกว้าง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
ั
พาณิชย์ มาตรา 8 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เหตุใดๆอนจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลวิบัติก็ดี ไม่มีใครอาจจะ
ป้องกันได้แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบ หรือใกล้เคียงจะต้องประสบเหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตาม
สมควรอนพงคาดหมายได้จากบุคคลนั้น ในฐานะเช่นนั้น” และหนังสือส านักนายกรัฐมนตรี ที่ สร.
ั
ึ
0101/2214 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2511 ยังได้ขยายความของค าว่า “เหตุสุดวิสัย” ตามประมวล
่
กฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 8 ให้ชัดเจนขึ้นด้วยว่า จะต้องมีองค์ประกอบที่ส าคัญ 2 ประการ
คือ
)1( เหตุเกิดขึ้นโดยมิใช่ความผิดของบุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบ อาทิ เหตุเกิดจากธรรมดา
ของโลก เช่น เพลิงไหม้ ฟ้าผ่า น้ าท่วม หรือเหตุเกิดแต่บุคคลที่สาม เช่น โจรสลัด โจรปล้น เป็นต้น
)2( ต้องเป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ ถ้าสามารถป้องกนได้แต่ไม่ป้องกันเสียจะอางเหตุสุดวิสัย
้
ั
ไม่ได้
ดังนั้นในกรณีที่ผู้รับจ้างส่งหนังสือขอขยายเวลาท าการตามสัญญา โดยอ้างว่าเกิดเหตุสุดวิสัย
ิ
ั
ท าให้ไม่สามารถท างานได้ คณะกรรมการตรวจรับพสดุจะต้องพจารณาอย่างรอบคอบโดยเฉพาะเหตุ
ที่อ้างถึงนั้นจะต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 2 ประการ เช่น กรณีเกิดเพลิงไหม้ในหน่วยงานก่อสร้าง เข้า
ิ
ข่ายองค์ประกอบ )1( ของเหตุสุดวิสัย แต่ถ้าพสูจน์ได้ว่าต้นเหตุของเพลิงไหม้เกิดจากความประมาท
เลินเล่อของผู้รับจ้าง ก็ไม่ถือเป็นเหตุสุดวิสัยเพราะไม่เข้าข่ายองค์ประกอบ )2( ของเหตุสุดวิสัย หรือ
ิ
กรณีเกิดน้ าท่วมในบริเวณพนที่ก่อสร้างท าให้ไม่สามารถทางานได้ ถ้าพสูจน์ได้ว่าในพื้นที่ก่อสร้างนั้นมี
ื้
น้ าท่วมเป็นปกติเกือบทุกปี ก็ไม่ถือเป็นเหตุสุดวิสัยเพราะถือว่าควรทราบล่วงหน้าและเตรียมการ
ป้องกันได้
ส าหรับกรณีที่อางเหตุว่าวัสดุขาดแคลน โดยทั่วไปไม่ถือเป็นเหตุสุดวิสัย เว้นแต่จะมีมติ
้
คณะรัฐมนตรีก าหนดให้ขยายเวลาท าการตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้างไว้เป็นกรณีพิเศษเท่านั้น
4.9.3 เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
ื่
เป็นการเปิดกว้างให้ส าหรับบางกรณีที่ไม่เข้าข่ายสองกรณีแรก เพอให้สอดคล้องกบประมวล
ั
กฎหมายแพงและพาณิชย์มาตรา 219 ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ถ้าการช าระหนี้กลายเป็นพนวิสัยและ
่
้
ั
พฤติการณ์อนใดอนหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ได้ก่อหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบนั้นไซร้ ท่านว่า
ั
ลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้นจากการช าระหนี้นั้น”
เคยมีกรณีตัวอย่าง การก่อสร้างของหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งตามแบบรูปรายการระบุให้
์
ผู้รับจ้างติดตั้งอปกรณ์ประกอบอาคารโดยได้ก าหนดรายการคุณลักษณะเฉพาะผลิตภัณฑต่างประเทศ
ุ
เพราะเป็นอปกรณ์ที่มีผลิตเฉพาะแห่ง ผู้รับจ้างได้ท าการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศ หลังจาก
ุ
ลงนามในสัญญาแล้วเพียง 2-3 วัน ดูได้จากวันที่ในการเปิด LC (Letter of Credit) แต่บริษัทผู้ผลิตมี
หนังสือแจ้งข้อขัดข้องต่อผู้รับจ้างที่สั่งซื้อว่าไม่สามารถผลิตได้เสร็จตามกาหนดเวลาที่สั่ง เนื่องจากขาด
แคลนวัตถุดิบบางประการ ท าให้ผู้รับจ้างน าอปกรณ์ที่สั่งจากต่างประเทศเข้ามาติดตั้งล่าช้ากว่า
ุ