Page 46 - 6-1inspectparcel
P. 46
40
4.8 .1 .1 เกิดจากความบกพร่องของผู้รับจ้าง เช่น ผู้รับจ้างตอกเสาเข็มผิดต าแหน่ง เสาเข็ม
หักขณะตอกท าให้ต้องปรับแก้แบบฐานรากใหม่ ซึ่งท าให้การก่อสร้างไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการที่
ก าหนดไว้ในสัญญา
4.8.1.2 เกิดจากความบกพร่องของแบบรูปรายการหรือใบเสนอราคาของผู้รับจ้าง เช่น
- ระยะที่ก าหนดในแบบรูปรายการไม่ตรงกับพื้นที่กอสร้างจริง
่
- ในแบบรูปก าหนดให้ใช้เสาเข็มยาวท่อนเดียว แต่ในพนที่จริงมีสภาพคับแคบไม่
ื้
สามารถขนส่งเสาเข็มยาวเข้าไปได้ ต้องใช้เป็นเสาเข็มสองท่อนต่อเชื่อมกัน
- วัสดุก่อสร้างที่ก าหนดในแบบรูปรายการ ปัจจุบันเลิกผลิตและไม่มีจ าหน่ายแล้ว
- มีรายการวัสดุก่อสร้างในใบเสนอราคาของผู้รับจ้าง แต่ไม่มีเนื้องานปรากฏในแบบ
รูปรายการ
ิ
แนวปฏิบัติในการประชุมพจารณาแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง กรณีที่ผู้รับจ้างเป็นผู้เสนอขอ
แก้ไขสัญญา คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีแนวทางที่ควรปฏิบัติตามขั้นตอน คือ
ี
)1( ให้ผู้รับจ้างส่งหนังสือขออนุมัติแก้ไขสัญญา ระบุรายละเอยดที่ขอแก้ไข พร้อมแนบ
้
ิ
เอกสารหลักฐานอางอง ได้แก่ เอกสารแสดงสาเหตุที่ต้องขอแก้ไข แบบรูปรายการเดิม แบบรูป
รายการที่แก้ไขใหม่ เอกสารการเปรียบเทียบคุณภาพ เอกสารการเปรียบเทียบราคา เป็นต้น
ั
)2( ประชุมคณะกรรมการตรวจรับพสดุ พิจารณาเปรียบเทียบคุณภาพให้ชัดเจน พจารณา
ิ
เปรียบเทียบราคาโดยไม่ท าให้หน่วยงานของรัฐเสียประโยชน์
)3( หากเป็นงานที่เกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง หรืองานเทคนิคเฉพาะอย่าง ต้องมีวิศวกร
ผู้รับผิดชอบหรือผู้ทรงคุณวุฒิลงนามรับรองแบบรูปด้วย
ั
)4( คณะกรรมการตรวจรับพสดุ มีมติอนุมัติให้แก้ไขสัญญาได้และให้ผู้รับจ้างบันทึกแสดง
ิ่
เจตนาเป็นลายลักษณ์อักษรว่า “ยินดีรับท าให้โดยไม่เพิ่มเงินและไม่เพมเวลา” แล้วบันทึกเป็นรายงาน
การประชุม
( 5 ) ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ท าหนังสือขออนุมัติแก้ไขสัญญา พร้อมแนบเอกสาร
ประกอบการพิจารณาทั้งหมดเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
ั
)6( เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐได้อนุมัติการแก้ไขสัญญาแล้ว หัวหน้าเจ้าหน้าที่พสดุจะต้อง
้
ท าสัญญาแก้ไขเพิ่มเต ิมให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ลงนามในสัญญาแกไขเพิ่มเติมนั้น
)7( คณะกรรมการตรวจรับพสดุ จะท าการตรวจรับงวดงานที่ประกอบเนื้องานที่ขอแก้ไข
ั
ิ่
สัญญาได้ ก็ต่อเมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐได้ลงนามในสัญญาแก้ไขเพมเติมแล้วเท่านั้น
4.8.2 กรณีที่ผู้ว่าจ้างเป็นผู้เสนอขอแก้ไขสัญญา
โดยทั่วไปจะไม่มีการขอแก้ไขสัญญาลักษณะนี้ในงานก่อสร้างของหน่วยงานของรัฐ นอกจาก
เกิดกรณีที่จ าเป็นจริงๆ เท่านั้น การขอแก้ไขสัญญาลักษณะนี้อาจแบ่งได้ ดังนี้
ิ่
4.8.2.1 แก้ไขสัญญาโดยผู้รับจ้างยินดีรับท าให้โดยไม่เพมเงินและไม่เพมเวลา ส่วนใหญ่จะ
ิ่
ี
เป็นการแก้ไขเพยงเล็กน้อย เช่น การเปลี่ยนวัสดุผิวพนให้ดีขึ้นกว่าเดิม การเปลี่ยนต าแหน่ง
ื้
ประตู-หน้าต่าง เป็นต้น
4.8.2.2 แก้ไขสัญญาโดยผู้รับจ้างไม่เพมเงิ นแต่ขอเพ ิ่ มระยะเวลาในการท างาน ส่วนใหญ่จะ
ิ่
ิ่
เป็นการแก้ไขแล้วพบว่ามีเนื้องานที่ผู้รับจ้างต้องใช้เวลาท างานเพมขึ้นจากสัญญาเดิม คณะกรรมการ