Page 100 - 6-2parcelcontrol
P. 100
91
ขั้นตอนการด าเนินงาน ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข
ั
ั
7. การจ าหน่ายพัสดุ - สถานที่จัดเก็บพสดุช ารุด - ส ารวจพสดุที่ช ารุด เสื่อมสภาพ
เสื่อมสภาพ รอจ าหน่าย รอจ าหน่าย
มีไม่เพียงพอ - ส ารวจสถานที่และจัดเตรียม
สถานที่จัดเก็บพัสดุที่ช ารุด
เสื่อมสภาพ รอจ าหน่าย
ั
- รวบรวมพสดุที่ช ารุด เสื่อมสภาพ
รอจ าหน่าย จัดเก็บไว้ที่เดียวกัน
ห้ามเคลื่อนย้าย โดยให้ทุกคน
มีส่วนร่วมและถือเป็นแนวปฏิบัติ
ร่วมกัน
5.2 ข้อเสนอแนะ
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานด้านการควบคุมดูแลพสดุ กองนโยบายและแผน
ั
ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผู้เขียนขอเสนอแนวทางในการปรับปรุง
เพื่อพัฒนาการควบคุมดูแลพัสดุ ดังนี้
ื่
1. ควรก าหนดวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนเพอป้องกันทรัพยสินสูญหาย และเสียหายจากการใช้งาน
2. ถามีครุภัณฑที่ช ารุด ควรตองรีบด าเนินการซอมแซมทันท ี
3. ทะเบียนบัญชีครุภัณฑตองปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยูเสมอ โดยเฉพาะกรณีที่มี
การเปลี่ยนแปลงผู้ใช้หรือสถานที่ตั้งของครุภัณฑ
4. การควบคุมพัสดุ ควรมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนส าหรับผู้ใช้พัสดุ เช่น การบันทึกแจ้งเจ้าหน้าที่
พัสดุเป็นลายลักษณ์อักษรเมื่อมีการเคลื่อนย้ายพัสดุทุกครั้ง
5. ควรมีการตรวจสอบพสดุประจ าปอยางจริงจัง เพอจะไดด าเนินการจ าหนายครุภัณฑ
ื่
ั
เสื่อมสภาพอย่างสม่ าเสมอทุกๆ ป โดยเฉพาะครุภัณฑที่ขาดการดูแลรักษา เกาลาสมัย เสียคาใช้จาย
ในการบ ารุงรักษาสูงหรือไมจ าเปนตองใชในราชการตอไป
6. การเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลทุกครั้ง ควรมีการประสานข้อมูลและแนวปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าที่เดิมและเจ้าหน้าที่คนใหม่ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและมีความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน
7. ควรมีการถ่ายทอดความรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงานเพอให้ปฏิบัติงานแทนกันได้
ื่
เมื่อมีการเกษียณอายุราชการ ลาออก สับเปลี่ยน เลื่อนต าแหน่ง หรือโยกย้ายผู้ปฏิบัติงานในด้าน
การควบคุมดูแลพัสดุ