Page 33 - 7-1InDesign
P. 33
2) ลักษณะและขนาดตัวอักษร
ั
ั
2.1) ลักษณะของตัวอกษร จากรูปแบบตัวอกษรที่หลากหลาย การสร้างแบบอกษรก็
ั
ั
ยังมีความแตกต่างที่หลายรูปแบบ ท าให้มีลักษณะเฉพาะของตัวอกษรเปลี่ยนแปลงไป เช่น ตัวเอน ตัวหนา ตัว
ธรรมดา ตัวเส้นขอบ ตัวบางพิเศษ ตัวหนาพิเศษ ตัวแคบ ตัวด า ตัวบาง
ั
ั
2.2) ขนาดของตัวอกษร ขนาดของตัวอกษรเป็นการก าหนดขนาดที่เป็นสัดส่วนความ
กว้าง และสูงและรูปร่างของตัวอกษร โดยเอาความสูงเป็นหลักในการจัดขนาดเรียกว่า พอยต์ (Point) ขนาด
ั
ตัวอักษรหัวเรื่องมักใช้ขนาดตั้งแต่ 16 พอยต์ ขึ้นไป ส่วนขนาดของเนื้อหาจะใช้ขนาดประมาณ 6 พอยต์ ถึง 16
พอยต์ แล้วแต่ลักษณะของงานนั้น ๆ
12 พอยต์ = 1 ไพก้า
6 ไพก้า = 1 นิ้ว (2.5 ซ.ม.)
75 พอยต์ = 1 นิ้ว
ขนาดทางราบหรือทางกว้างของตัวอกษร เมื่อเรียงกันไปเป็นค าหรือความยาวใน
ั
1 บรรทัด หรือเรียกว่า เป็น “ความยาวคอลัมน์” จะก าหนดเป็นไพก้า (Pica)
ั
3) ระยะช่องไฟและการจัดวางอกษร การจัดระยะช่องไฟตัวอกษรมีความส าคัญมาก
ั
เนื่องจากถ้ามีการออกแบบที่เหมาะสม และสวยงามแล้วจะท าให้ผู้ดูอ่านง่าย สบายตา ชวนอ่าน การจัดช่องไฟ
มีหลักการใช้อยู่ 3 ข้อดังนี้
ั
3.1) ระยะช่องไฟระหว่างอกษร (Letter Spacing) เป็นการก าหนดช่องไฟระหว่าง
ั
ตัวอักษรแต่ละตัวที่จะต้องมีระยะห่างกนพองาม ไม่ติดหรือห่างกันเกินไป ควรจัดช่องไฟโดยค านึงถึงปริมาตรที่
มีความสมดุล โดยประมาณในระหว่างตัวอักษร หรือเรียกว่า ปริมาตรความสมดุลทางสายตา
ั
ั
3.2) แบบการจัดตัวอกษร ในการจัดเนื้อหาของตัวอกษรมีการจัดด้วยกันหลายวิธี
เช่น
- จัดชิดซ้าย จะมีลายด้านขวาไม่สม่ าเสมอ เนื่องจากตัวอักษรในแต่ละบรรทัด มี
ความยาวไม่เท่ากัน แต่ผู้อ่านก็ไม่สามารถหาจุดเริ่มต้นของแต่ละบรรทัดได้ง่าย
- จัดชิดขวา ถึงแม้รูปแบบการจัดตัวอกษรแบบนี้จะน่าสนใจ แต่จุดเริ่มต้นในแต่
ั
ละบรรทัดที่ไม่สม่ าเสมอ ท าให้อ่านยาก ผู้อ่านต้องหยุดชะงัก เพื่อหาจุดเริ่มต้นของแต่ละบรรทัด
- จัดกึ่งกลาง จะใช้ได้ดีกับข้อความที่ไม่มีปริมาณมากนัก และเหมาะกับรูปแบบ
ที่เป็นทางการ เช่น ค าประกาศหรือค าเชื้อเชิญ
- จัดชิดขอบซ้ายและขวา เมื่อจัดตัวอกษรแบบ justify จะมีพนที่ว่างเกิดขึ้น
ื้
ั
่
ระหว่างค า สิ่งที่ควรระวังคือ เกิดช่องว่าง ซึ่งจะรบกวนความสะดวกในการอาน แต่เป็นสิ่งยากที่จะหลีกเลี่ยง
ในคอลัมน์ที่มีขนาดแคบ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2563)
การจัดท าจดหมายข่าวสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้วยโปรแกรม Adobe InDesign 24