Page 31 - 7-1InDesign
P. 31

ั
                                                                   ์
                                 3) งานท าส าเร็จ ได้แก่ การพบวัสดุพมพ การเข้าเล่ม การเข้าปก การตัดเจียนและการ
                                                                ิ
                                                   ์
               แปรสภาพงานพิมพ์ ทั้งนี้การออกบสิ่งพิมพควรค านึงถึงขั้นตอนการผลิตทั้งหมด เพื่อให้การปฏิบัติงานในแต่ละ
               ขั้นตอนสอดคล้องและด าเนินไปด้วยความถูกต้อง
                         3.1.4.5   หลักการออกแบบและจัดวางองค์ประกอบในจดหมายข่าว

                                        ์
                                     ิ
                                 สิ่งพมพประกอบด้วยองค์ประกอบส าคัญหลายอย่าง ได้แก่ ตัวอกษรหรือข้อความ
                                                                                          ั
               ภาพประกอบ การออกแบบ จัดหน้าต้องค านึงถึงการจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าว โดยใช้หลักการดังนี้

                                 1) เอกภาพ ในการจัดวางองค์ประกอบ เป็นการจัดวางองค์ประกอบทั้งหมดของรูปแบบ
               ตั้งแต่ข้อความ ภาพ สัญลักษณ์และอื่น ๆ ให้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความ
               ต้องการของเจ้าของงานและผู้ออกแบบ ในการจัดวางองค์ประกอบให้มีเอกภาพสามารถท าได้ด้วยการใช้แบบ

                      ์
                   ิ
                               ั
               ตัวพมพหรือแบบอกษรที่ไม่มากเกินไปในหนึ่งหน้า เพอไม่ให้เกิดความหลากหลายหรือท าให้ส่วนประกอบ
                                                             ื่
               ต่าง ๆ ของเล่มแยกจากกันเกินไป การใช้รูปแบบตัวอกษรหลาย ๆ แบบในหนึ่งหน้า ส่งผลให้ดึงดูดความสนใจ
                                                           ั
               จากผู้อ่านได้ แต่ผลเสียคือ ท าให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายช้าและต้องใช้ความพยายามในการอ่านมากเกินไป

                                 2) สมดุล การจัดวางองค์ประกอบให้เกิดความสมดุล ให้มีรูปแบบที่สมดุลกันในแต่ละ
               ด้าน ไม่เน้นหนักในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ความสมดุลในการจัดวางรูปแบบมีสอบประเภท คือ ความสมดุลแท้หรือ
               ความสมดุลที่องค์ประกอบทางซ้ายและขวา หรือบนและล่างมีน้ าหนักเท่ากัน อีกประการหนึ่ง คือ ความสมดุล

               เทียมหรือความสมดุลที่องค์ประกอบด้านซ้ายด้านขวา หรือด้านบนและด้านล่างมีน้ าหนักไม่เท่าเทียมกัน

                                                                                    ั

                                 3) สัดส่วน ในการจัดวางองค์ประกอบ โดยเน้นความสัมพนธ์ของขนาดและรูปร่าง
                                                               ์
                                                            ิ
                        ั
               ความสัมพนธ์ระหว่างด้านกว้างและด้านยาวของสิ่งพมพ ความเหมาะสมของขนาดรูปแบบ และรูปเล่มของ
                                               ิ
                                                 ์
               สิ่งพมพ การก าหนดสัดส่วนของสิ่งพมพโดยทั่วไปนิยมให้ด้านกว้างและด้านยาวสอดคล้องกับสัดส่วนของ
                   ิ
                      ์
               กระดาษมาตรฐาน ดังนั้นผู้ออกแบบต้องค านึงถึงสัดส่วนที่เหมาะสม
                                 4) การเน้นหรือย้ าจุดสนใจ เป็นการวางจุดสนใจที่ส าคัญหรือเด่นชัดขึ้น แตกต่างจากสี

                                              ิ่
                                   ื่
               พนและส่วนประกอบอน เป็นการเพมความน่าสนใจให้สื่อสิ่งพมพ ด้วยการใช้โทนสีตัดกัน ใช้สีขาว-ด า ใช้
                                                                    ิ
                 ื้
                                                                       ์
               ตัวอักษรขาวในพื้นที่ทึบ หรือใช้เนื้อที่ว่างแทรกระหว่างหน้าที่มีเนื้อหามาก

                                 5) การใช้รูปแบบซ้ ากัน เป็นการจัดวางองค์ประกอบรูปแบบที่ดูเป็นกลุ่มก้อน โดยใช้
                                                                                               ิ
                                                                                                  ์
                                                                                                    ี
               รูปแบบที่คล้ายคลึงกัน เพอเพมความแปลกใหม่ ความประหลาดและความน่าสนใจให้กับสื่อสิ่งพมพ อกทั้งยัง
                                        ิ่
                                     ื่
               เป็นการเน้นข้อความหรือจุดส าคัญที่ต้องการสื่อความหมายด้วย

                                                                                                   ่
                                 6) การใช้เส้นน าสายตาให้เกิดลีลาเคลื่อนไหว เป็นการใช้เส้นน าสายตาผู้อานไปสู่
               จุดส าคัญที่ต้องการสื่อความหมาย ท าให้ส่วนประกอบต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหวจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง ภาพ
                                                             ่
               จะดูไม่นิ่งเกินไปและช่วยป้องกันความสับสนจากการอานด้วยการใช้ลูกศรหรือเส้น อาจเป็นเส้นตรงหรือเส้น
               โค้งหรือเส้นลักษณะอื่นที่สามารถน าจุดสนใจได้








                                     การจัดท าจดหมายข่าวสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้วยโปรแกรม Adobe InDesign    22
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36