Page 29 - 7-1InDesign
P. 29
3.1.4 หลักการออกแบบจดหมายข่าว
หลักการทั่วไปในการออกแบบจดหมายข่าวมี 2 เรื่องที่ส าคัญ คือ สิ่งที่ต้องก าหนดและวางแผน
ก่อนการออกแบบจดหมายข่าวและองค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบจดหมายข่าว
3.1.4.1. สิ่งที่ต้องก าหนดและวางแผนก่อนการออกแบบจดหมายข่าว ก่อนจะท าการออกแบบ
ั
จดหมายข่าวนั้น มีเรื่องต้องก าหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกบการออกแบบ ดังนี้
1) การก าหนดขนาดและรูปแบบของจดหมายข่าว สิ่งที่ต้องค านึงถึง คือ ลักษณะการ
น าส่งจดหมายข่าว เนื่องจากจดหมายข่าวส่วนใหญ่จะส่งให้ผู้ที่เป็นสมาชิกหรืออยู่ในกลุ่มขององค์กรนั้น ๆ ใน
อดีตการน าส่งมักใช้ไปรษณีย์หรือบริการรับส่ง ดังนั้นจดหมายข่าวจึงต้องมีขนาดที่สะดวกต่อการน าส่งโดยไม่
เสียหายง่าย แต่จดหมายข่าวในปัจจุบันมีการจัดท าในรูปแบบต่าง ๆ การน าเสนอผ่านสื่อออนไลน์ ขนาดที่เป็น
ที่นิยมมากขนาดหนึ่ง คือ ขนาด A4
2) รูปแบบของปกหน้าหรือหน้าแรกของจดหมายข่าว จดหมายข่าวมี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ
คือ รูปแบบที่ 1 เป็นการคัดข้อความย่อ ๆ ของเรื่องต่าง ๆ ในฉบับมาน าเสนอ และรูปแบบที่ 2 เป็นการ
ี
น าเสนอเรื่อง ที่เด่นที่สุดในฉบับทั้งเรื่อง ดังนั้นก่อนการออกแบบรายละเอยดในส่วนนี้ต้องตัดสินใจเลือก
เสียก่อนว่าจะเลือกใช้รูปแบบใด
3) ในการออกแบบจดหมายข่าว ควรก าหนดรูปแบบหลัก ๆ ของตัวอกษร ส าหรับ
ั
ื่
หน้าต่าง ๆ เพอให้เกิดความสม่ าเสมอ และรวดเร็วในการจัดท าจดหมายข่าวฉบับต่อ ๆ ไป นอกจากแบบแล้ว
ก็คววรก าหนดขนาดของตัวอักษรไว้ด้วยว่าควรใช้ขนาดเท่าใด โดยขนาดตัวอักษรที่ใช้เป็น ตัวพิมพ์เนื้อเรื่อง นั้น
ิ
ั
ไม่ควรมีขนาดเล็กกว่า 12 พอยต์ ส่วนตัวอกษรที่ใช้เป็นตัวพมพหัวเรื่อง หัวรอง ควรมีขนาดใหญ่ ตั้งแต่ 18
์
พอยต์ขึ้นไป ขนาดตัวอักษรจึงควรเลือกให้เหมาะสม
4) การก าหนดภาพประกอบในจดหมายข่าวควรได้รับการก าหนดล่วงหน้าเช่นเดียวกัน
กับตัวอกษร เนื่องจากจดหมายข่าวมีหน้าต่าง ๆ หลายหน้า จึงควรก าหนดลักษณะภาพประกอบให้มีลักษณะ
ั
เดียวกันเพื่อให้เกิดเอกภาพร่วมกันทั้งฉบับ (ธเนศ หาญใจ, 2563)
3.1.4.2 องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบ มีรายละเอียดที่เป็นพิเศษ ดังนี้
1) หน้าแรกของจดหมายข่าว มีความส าคัญเช่นเดียวกันกับปกหน้าของนิตยสาร เพราะ
เปรียบเสมือนหน้าตาของจดหมายข่าว ซึ่งจะก่อให้เกิดความประทับใจเมื่อแรกเห็น อกทั้งยังเป็นโอกาสที่นัก
ี
ออกแบบจะใช้ในการดึงดูดผู้ที่ได้รับจดหมายข่าวนั้นและหยิบขึ้นมาอาน แถบชื่อ หรือ หัวหนังสือ เป็น
่
องค์ประกอบส าคัญสุดของจดหมายข่าว โดย
1.1) เมื่อได้ท าการออกแบบหัวหนังสือแล้วจะต้องยึดรูปแบบเดิมไว้ตลอด เพอให้
ื่
ผู้อ่านสามารถรับรู้และจดจ าได้ในทันทีว่าเป็นจดหมายข่าวของหน่วยงานใด
1.2) สารบัญของจดหมายข่าวจะแตกต่างจากสารบัญของนิตยสารหรือหนังสือ
สารบัญของจดหมายข่าวมีลักษณะเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ (Box) วางอยู่ในหน้าแรก เพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถ
การจัดท าจดหมายข่าวสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ด้วยโปรแกรม Adobe InDesign 20