Page 35 - 7internalqa
P. 35
29
2. ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ให้เชื่อมโยงกับตัวบ่งชี้การด าเนินการ
ื่
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพอประโยชน์ในการเผยแพร่หลักสูตร
ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ซึ่ง สกอ. ได้ก าหนดแนวทางการเผยแพร่หลักสูตรไว้ในประกาศคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
3. ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เป็นข้อมูลพนฐานในส่วนที่
ื้
ุ
เกี่ยวข้อง ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอดมศึกษา และตัวบ่งชี้เชิงปริมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
คุณวุฒิ ต าแหน่ง ทางวิชาการ และผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ส าหรับตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพที่เน้น
ี
ี
ิ
กระบวนการ จะประเมนใน ลักษณะของพชญพจารณ์ (Peer Review) ซึ่งจะมรายละเอยดของค าถาม
ิ
ิ
ื่
ที่จะเป็นแนวทางให้แก่ผู้ประเมิน เพอให้สามารถน าไปพิจารณาตามบริบทของมหาวิทยาลัยได้ และได้
ก าหนดแนวทางในการให้คะแนนในแต่ละระดับส าหรับผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้ใช้ในการพิจารณา
4. มหาวิทยาลัยสามารถจัดท าระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
ุ
โดยมีการ ด าเนินงานได้ตามมาตรฐานเทียบเคียงกับมาตรฐานของส านักงานคณะกรรมการการอดมศึกษา
ทั้งนี้ ทุกระบบ ต้องได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบันและเสนอคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ุ
ระดับอดมศึกษา พจารณาให้ความเห็นชอบ และให้มีการจัดส่งผลการประเมินพร้อมข้อมูลพนฐาน
ิ
ื้
ื่
ให้กับส านักงานคณะกรรมการ การอดมศึกษาเพอเผยแพร่ต่อสาธารณะ ตัวอย่างการประกันคุณภาพ
ุ
การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ที่เทียบเคียงได้ เช่น ผลการประเมินหลักสูตรของ AUN - QA ผล
การประเมินหลักสูตรวิชาชีพที่ได้รับการ รับรองจากองค์การวิชาชีพระดับนานาชาติ เช่น AACSB
(ส าหรับหลักสูตรทางด้านบริหารธุรกิจ) ABET (ส าหรับหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมศาสตร์) และหลักสูตร
ที่ได้รับการตรวจประเมินเป็นประจ าและผ่านการรับรองโดยสภาวิชาชีพ