Page 109 - 4-11governmentcredit
P. 109
103
ขั้นตอนด าเนินงาน ปัญหา/อปสรรค แนวทางแก้ไข
ุ
จัดท าบัตรใหม่ทดแทน
การบันทึกรายการเงิน 1.เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานไม่มี -มหาวิทยาลัยฯควรจัดอบรมให้
ยืมทดรองราชการใน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรายการ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ระบบ ERP การบันทึกเงินยืมในระบบ ERP บันทึกรายการ เงินยืมทดรองราชการ
เช่น การบันทึกลูกหนี้เงินยืม ลูกหนี้ ให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของ
ใบ ส า คั ญ แ ล ะ ก า ร อ อ ก หน่วยงาน
ใบเสร็จรับเงิน -กองคลัง จัดท าคู่มือการบันทึก
รายการการยืมเงินทดรองราชการใน
ระบ บ ERP ให้ กับ เจ้าห น้ าที่ที่
เกี่ยวข้องของหน่วยงาน
5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
การปฏิบัติงานด้านเงินยืมทดรองราชการ เจ้าหน้าที่การเงินต้องเข้าใจว่าผู้ยืมต้องน าเงินที่
ได้รับไปทดรองจ่ายในการด าเนินงานที่ยังไม่สามารถเบิกจากเงินงบประมาณหรือเงินรายได้ ฉะนั้น
ื่
เพอให้ผู้ยืมสามารถปฏิบัติงานได้ทันเวลา เจ้าหน้าที่การเงินควรท างานให้เป็นปัจจุบัน และหาแนว
ทางการพฒนางานให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยผู้บังคับบัญชาและผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้อง
ั
ร่วมกันวางแผนในการปฏิบัติดังนี้
1. มหาวิทยาลัยฯ ควรวิเคราะห์และก าหนดวงเงินเก็บรักษาที่เหมาะสมให้กองคลัง ส าหรับ
ใช้หมุนเวียนทดรองจ่ายให้เพียงพอและสะดวกต่อการตรวจสอบซึ่งในระยะเวลาที่ผ่านมาได้วิเคราะห์
ื่
เบื้องต้นจากสัญญาการยืมเงินที่กองคลังแล้วพบว่าควรก าหนดวงเงินเก็บรักษาเพอใช้ทดรองจ่ายใน
วงเงินไม่เกิน 10,000,000 บาท (สิบล้านบาทถ้วน)
ื่
2. มหาวิทยาลัยฯ ควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่การเงินอย่างต่อเนื่องเพอให้มีเทคนิคในการเป็นผู้
ให้บริการที่ดีและตระหนักถึงความส าคัญของการปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
บทลงโทษต่าง ๆ
3. หาสาเหตุการส่งใช้เงินยืมเกินก าหนดโดยแยกสัญญาการยืมเงินที่ส่งใช้เกินก าหนด
เป็นประจ า และวิเคราะห์หาสาเหตุเป็นราย ๆ ไปหากมีความเสียหายเกิดขึ้น แต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบหาข้อเท็จจริงและก าหนดแนวทางป้องกันโดยมีมาตรการลงโทษนอกเหนือจากการหักเงินเดือน
เช่น หักจากเงินรายได้อื่นหรือการคิดดอกเบี้ย เป็นต้น
งานการเงิน (เงินทดรองราชการ) กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร