Page 10 - 5-17strategicplan
P. 10

4







                              1.  กลวิธีกำรปฏิบัติ  หรือมำตรกำร  (Strategy)  เป็นการก าหนดแนวทางปฏิบัติให้บรรลุ
                       จุดหมาย (Ends) ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

                                     แผนงำน (Programs) และโครงกำร (Projects) เป็นการก าหนดแนวทาง

                       การกระท าที่เป็นรูปธรรมในการปฏิบัติมากขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปจะมีประเด็นในการเขียนที่ชัดเจน
                       ครอบคลุม และเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ


                                     ทรัพยำกร (Resources) และค่ำใช้จ่ำย (Cost) เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญ
                       อย่างหนึ่งในการวางแผนและการน าแผนไปปฏิบัติ ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ ซึ่งผู้วางแผนจะต้อง

                       ระบุให้ชัดเจนและมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ “มิใช่เขียนแผนแบบวาดวิมานในอากาศ” หรือ

                       “เขียนแผนแบบเพ้อฝัน”

                                     กำรน ำแผนไปปฏิบัติ (Implementation) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึงกรรมวิธี

                       ในการตัดสินใจเลือกแผนและโครงการไปปฏิบัติให้เกิดผลส าเร็จตามจุดหมาย (Ends) ที่ก าหนดไว้
                       ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องอาศัยกลยุทธ์หลายอย่างทั้งกลยุทธ์ภายในองค์การและกลยุทธภายนอกองค์การ

                              2.  กำรประเมินผลแผน (Evaluation) เป็นองค์ประกอบที่แสดงถึง การตรวจสอบ

                                                                ื่
                       การควบคุมและการวัดผลการปฏิบัติตามแผนเพอให้ทราบถึง ความก้าวหน้าหรือข้อบกพร่องหรือ
                                             ื่
                       ข้อจ ากัดของแผนนั้น ๆ เพอจะได้ปรับปรุงแผนให้สามารถน าไปปฏิบัติได้บรรลุตามเป้าหมายและ
                       วัตถุประสงค์ก าหนดไว้


                       1) ระดับของกำรวำงแผน

                              ถ้าจะแบ่งระดับของการวางแผนลักษณะของการบริหารงานในองค์การ สามารถแบ่งออกเป็น

                       3 ระดับ  คือ

                              1.  กำรวำงแผนระดับนโยบำย (Policy Planning) เป็นแผนระดับสูงสุดขององค์การ
                                                         ื้
                                                                                    ื่
                       มักจะระบุแนวทางอย่างกว้าง ๆ ซึ่งเป็นพนฐานที่จะก่อให้เกิดแผนชนิดอน ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นแผน
                       ระยะยาว (Long – Range Plan) เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9
                              2.  กำรวำงแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) เป็นการวางแผนหลอมรวมคลอบคลุม

                       กิจกรรมทั้งหมดขององค์การ หรือแผนงานใหญ่ขององค์การ โดยจะระบุไว้ “อย่างกว้าง” และ
                                                                                                ั
                       “มองไกล” ไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งมักจะเป็นแผนระยะยาว 5 – 10 ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกบแผนระดับ
                       นโยบาย

                              3.  แผนปฏิบัติกำร หรือแผนด ำเนินงำน (Operation Plan) เป็นการวางแผนที่ก าหนด
                       จุดมุ่งหมายระยะสั้น ระยะเวลา ไม่เกิน 1 ปี ซึ่งถ่ายทอดมาจากแผนกลยุทธ์ องค์ประกอบ

                       ของแผนปฏิบัติ การประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม ขั้นตอนการปฏิบัติ งบประมาณ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15