Page 9 - 5-17strategicplan
P. 9

3







                              5) การลงโครงการ/กิจกรรม ในแผนยุทธศาสตร์

                              6) ก าหนดผู้รับผิดชอบรายตัวชี้วัด

                       1.5 ค ำจ ำกัดควำม


                              ก่อนที่จะกล่าวถึงกระบวนการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ ขอกล่าวถึงค าศัพท์ ความหมายและค า
                       จ ากัดความที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เข้าใจในรายละเอียดมากขึ้น
                                                                                                       ื้
                              “การวางแผน” (Planning) มาจากค าในภาษาละตินว่า “แพลนัม”(Planum) หมายถึงพนที่
                                                ั
                       ราบ หรือพมพเขียว ค าภาษาองกฤษใช้ “Planning” (สมบัติ ธ ารงธัญวงศ์.2540 : 48) ซึ่งหมายถึง
                                ิ
                                   ์
                       กระบวนการวิเคราะห์และการตัดสินใจ ของผู้บริหารที่จะก าหนดวิธีการไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ
                         ื่
                       เพอใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
                       โดยน าเอาข้อมูลข่าวสาร (Information) ในอดีตมาก าหนดหรือพยากรณ์อนาคต ดังนั้นแนวคิด
                       ของการวางแผนจึงมีลักษณะเป็น “ศาสตร์” ที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Information)

                       ที่มีความแม่นตรง และเชื่อถือได้ และจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่ชัดเจน และมี
                       ความต่อเนื่องกันตามล าดับ ทั้งนี้เพอให้ผู้ใช้แผน มีความรู้และความเข้าใจที่จะสามารถน าแผนไป
                                                     ื่
                       ปฏิบัติให้บรรลุผลส าเร็จได้


                       1) องค์ประกอบของกำรวำงแผนที่ส ำคัญ คือ


                           กำรก ำหนดจุดหมำยปลำยทำง (Ends) ที่ต้องการบรรลุ  ซึ่งมีหลายระดับ คือ


                                  ุ่
                              จุดมงหมำยหรือเป้ำประสงค์ (Goals) เป็นการแสดงถึงความคาดหวังที่ต้องการให้เกิดขึ้น
                       ในช่วงระยะเวลาข้างหน้า ซึ่งมักจะมองในรูปของผลลัพธ์ (Outcome) ในอนาคตก าหนดอย่างกว้าง ๆ


                              วตถุประสงค์ (Objective) เป็นองค์ประกอบที่เป็นผลมาจากการแปลงจุดมุ่งหมาย (Goal)
                               ั
                                            ื่
                       ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้นเพอง่ายในการน าไปปฏิบัติ วัตถุประสงค์จึงเป็นการก าหนดผลผลิต (Output)
                       ที่คาดหวังให้เกิดขึ้นอย่างกว้าง ๆ แต่ชัดเจน และสามารถปฏิบัติได้

                              เป้ำหมำย (Targets) เป็นองค์ประกอบที่ผลมาจากการแปลงวัตถุประสงค์ให้เป็นรูปธรรม

                       ในการปฏิบัติมากขึ้น เป้าหมายจึงเป็นการก าหนดผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามแผน
                       โดยจะก าหนดเป็นหน่วยนับที่วัดผลได้เชิงปริมาณ และก าหนดระยะเวลาที่จะบรรลุผลส าเร็จนั้นด้วย


                                                                               ์
                              วิธีกำรและกระบวนกำร (Means and Process) เป็นองคประกอบที่เกิดจากการน า
                       ข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์และก าหนดเป็นทางเลือก (Altemative) ส าหรับเป็นแนวทางปฏิบัติ หรือ

                                                                        ่
                       กลวิธี (Strategy)  ให้บรรลุจุดหมายที่กาหนดไว้ จากนั้นจะถายทอดออกมาเป็นแผนงาน (Programs)

                       และโครงการ (Projects) เชื่อมโยงกัน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก คือ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14