Page 122 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 122
116
ในขั้นนี้ได้น าเครื่องมือการจัดการความรู้ (KM Tools) เกี่ยวกับเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นการประชุมกัน
ภายในองค์กรของผู้ออกแบบระบบ ซึ่งจะน าความรู้มาแบ่งปันประสบการณ์ในการท างาน เพื่อที่จะน าระบบมา
ปรับเปลี่ยน ให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการและสมบูรณ์ที่สุด
ขั้นตอนที่ 7 : บ ารุงรักษา (Maintenance)
มีการประเมินระบบ เพื่อบ ารุงรักษาให้สามารถใช้งานได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการอยู่เสมอ ซึ่งประเด็นการ
ประเมินได้แก่ การเข้าใช้งานได้อย่างสะดวกง่ายไม่ซับซ้อน การน าเข้าข้อมูลได้ง่ายและสะดวก การประมวลผล
รวดเร็วถูกต้อง และการรายงานผลได้ตามที่ผู้ใช้ต้องการอยู่ในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย
ในขั้นนี้ได้น าเครื่องมือการจัดการความรู้ (KM Tools) เกี่ยวกับการทบทวนหลังการปฏิบัติ
เป็นการแก้ไขเกี่ยวกับสาเหตุที่เกิดขึ้น หลังจากที่น าระบบมาใช้งาน เพื่อทบทวนว่าเกิดอะไรขึ้นภายในระบบ
ท าไมจึงเกิด และต้องแก้ไขอย่างไร ซึ่งจะเป็นวิธีที่จะท าให้ผู้ออกแบบระบบได้เรียนรู้ทั้งความส าเร็จและ
ข้อผิดพลาดที่น าไปสู่การพัฒนาปรับปรุงต่อไป (บดินทร์ วิจารณ์, 2547)
ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
การใช้กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (SDLC) ร่วมกับการใช้การจัดการความรู้ (KM Tools) ใน
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารแผนงบประมาณสามารถวิเคราะห์ออกมาดังภาพที่
1
ภาพที่ 1 แสดง ER Model ที่ได้จาการวิเคราะห์
จากการด าเนินการตามกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (SDLC) ร่วมกับการใช้การจัดการความรู้
(KM Tools) จึงได้ระบบสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารและบุคคลทั่วไปผู้มีส่วนได้เสียท า
ให้การบริหารและการปฏิบัติของโครงการ ช่วยในการจัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสม มีการประมวลผลบริหาร
ติดตามการด าเนินงาน การบันทึกข้อมูลโครงการตามแผน สรุปผลของโครงการ และรายงานงบประมาณของ
แต่ละโครงการ ท าให้กระบวนการท างานมีความโปร่งใส และมีความน่าเชื่อถือ