Page 125 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 125

119





























                                        ภาพที่ 6 หน้าจอแสดงเมนูแผนปฏิบัติการประจ าปี

               ปัจจัยความส าเร็จ


                       1. ความอนุเคราะห์จากผู้ที่เกี่ยวข้อง อาจารย์ที่ปรึกษา
                       2. ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
                       3. การวางแผนการด าเนินงานที่เป็นระบบ


               สรุป


                       การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารแผนงบประมาณ ส าเร็จได้ด้วยการได้รับ
               ความร่วมมือในการจัดการความรู้ ระหว่างผู้พัฒนา เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน อาจารย์ และผู้บริหาร ส่งผลให้
               การออกแบบระบบด้วยกระบวนการพัฒนา (SDLC)  สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด เป็นที่

               ยอมรับสู่การน าไปใช้ได้จริง

               บรรณานุกรม


               กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน
                        พ.ศ. 2559, เข้าถึงได้จาก : http://plan.rmutsv.ac.th/


               คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. (ออนไลน์).
                        สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2558, เข้าถึงได้จาก : http://mt.rmutsv.ac.th/

               วิจารณ์ พาณิช. การจัดการความรู้. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559, เข้าถึงได้จาก :

                        http://huahin.dusit.ac.th/bg/KM/KM_Article.pdf

               บดินทร์ วิจารณ์.  2547.  การจัดการความรู้ สู่..ปัญญาปฏิบัติ, น.9-11 ท าไมต้องสนใจ KM. เอ็กซ์เปอร์เน็ต,
                        กรุงเทพฯ
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130