Page 217 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 217

211


               ซึ่งทั้งคนในชุมชนและนักท่องเที่ยวที่เข้ามาจะสามารถทราบได้ว่า เส้นทางดังกล่าวนี้จะน าไปสู่อะไร ซึ่งช่วยให้ผู้
               ที่ไม่คุ้นเคยสามารถเข้าใจได้ง่ายและรู้สึกปลอดภัย (ดังภาพที่ 3)











                                               ภาพที่ 3 การจัดท าเป็นสื่อกราฟิก

               ขั้นตอนที่ 4 : เผยแพร่ผลงาน “การสื่อความหมายด้วยกราฟิก (graphic)”
                       การน าเสนอและเผยแพร่ผลงาน “การสื่อความหมายด้วยกราฟิก (graphic)”ต่อผู้คนในชุมชน และ

               สอบถามความเห็นเพื่อน ามาปรับปรุงให้มีความชัดเจนและเป็นไปตามความต้องการของชุมชนมากขึ้น (ภาพที่
               4)














                                      ภาพที่ 4 การน าเสนอและเผยแพร่ผลงานต่อชาวชุมชน

               ขั้นตอนที่ 5 : ปรับปรุงผลงานและจัดท ากราฟิกเพื่อสื่อความหมายแบบสมบูรณ์
                       ท าการปรับปรุงผลงานตามค าแนะน าของผู้คนในชุมชน โดยท าเป็นกราฟิกตามที่ได้จ าลองภาพ

               บรรยากาศที่ออกแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไว้ (ดังภาพที่ 5) โดยประกอบด้วย
                            (1) การสร้าง “กราฟิกพาเดิน” ในพื้นที่ชุมชนจริง ได้แก่เรื่อง “รอยเท้า..เล่าเรื่อง” “เด็กเดิน
               น า” “หนังสือ..เดินตาม”
                            (2) จัดท าอินโฟกราฟิก (infographic) เพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักท่องเที่ยวที่สัมพันธ์

               กับ “กราฟิกพาเดิน”
                            (3) จัดท าแผนที่ชุมชน (community map) แสดงเส้นทางเดินที่สัมพันธ์กับ“กราฟิกพาเดิน”
               เพื่อให้ผู้มาเที่ยวในชุมชนเห็นภาพรวม ต าแหน่งสถานที่ เส้นทางต่างๆ ในชุมชน
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222