Page 213 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 213
207
กราฟิกพาเดิน เพลิดเพลินในชุมชนคลองบางหลวง กรุงเทพฯ
Follow the graphic, Enjoy with Klong Bangluang, Bangkok
1
1
อาณัติ เจาะล้ าลึก กิตติภณ สุดฉาย
1
นักศึกษา สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการออกแบบชุมชนเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
E-mail: rnutlee@gmail.com, kittiphon02973@gmail.com
บทสรุป
“กราฟิกพาเดิน เพลิดเพลินในชุมชนคลองบางหลวง กรุงเทพฯ” อยู่ภายใต้โครงการฟื้นฟูเมืองและ
ย่านชุมชนเก่า ด าเนินการในรูปแบบกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (workshop) โดยใช้ชื่อว่า “โครงการฟื้นฟูชีวิต
ชุมชนริมคลองบางหลวงและคลองบางประทุน ด้วยกระบวนการออกแบบอย่างมีส่วนร่วม” (ASA-CAN
Workshop 2016 "Place-making: Living with Water") ระหว่างวันที่ 10 - 19 มิถุนายน 2559 โดยเปิด
โอกาสให้นิสิตนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็น
ชุมชนและความเป็นถิ่นที่ (sense of place) ผ่านกระบวนการท างานอย่างมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ
ภาคเอกชน ชาวชุมชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม หนึ่งในกิจกรรมที่จัดท าขึ้น คือ การสื่อ
ความหมายด้วยกราฟิก (graphic) แทนการใช้ตัวอักษร เพื่อให้คนในชุมชนและผู้ที่เข้ามาเยี่ยมเยือนเข้าใจง่าย
และจดจ าได้ ข้อมูลที่น ามาสร้างงานกราฟิกมาจากการส ารวจพื้นที่และการสัมภาษณ์คนในชุมชน จึงท าให้
ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้องแม่นย า และเป็นการใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM tools) ประเภท การเล่าเรื่อง
(Story Telling) การท ากิจกรรมนี้ได้รับความสนใจและความร่วมมือจากคนในชุมชนอย่างมาก และช่วยให้คน
ในชุมชนเกิดความหวงแหนชุมชนของตนและมีความภาคภูมิใจในวิถีชีวิตที่มีคุณค่าแก่การเก็บรักษาไว้
ค าส าคัญ: ชุมชนริมคลองบางหลวง กราฟิก การฟื้นฟูชุมชน
Summary
“Follow the graphic, Enjoy with Klong Bangluang” was in the charge of “Old
community regeneration project” .This type of project was a workshop activity in the name
of “Klong Bangluang and Klong Bang Pratun Regeneration Workshop Project” (ASA-CAN
Workshop 2016 “Place-making: Living with Water”) . The project duration was held between
10-19 June 2016. The participant of this project was students from different college.
Objective of this project was to support the community and sense of place by the
participant process of government , private company , community , college and civil society.
One of activity was create from students is infographic. The infographic was for the
understanding of people in community and the traveler to know which one of something or
somewhere in community is. The data that arrange for create the infographic was from
survey and interview with people. So that make the data have more accurate and it also a
kind of KM tools that call “Story Telling” .Between the project people was interesting and