Page 222 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 222

216


                           การจัดการความรู้แบบบูรณาการสู่นวัตกรรมรูปแบบการเรียนการสอน

                      Knowledge Management on Integrated Learning to the Innovation
                                                  of Teaching Model


                                                 1
                                                                     2
                                 กนกวรรณ เวชกามา , ดวงจันทร์ ขัดสีทะลี , นวลศรี  จารุทรรศน์ 3
                                                                                 6
                                                                 5
                                                   4
                                       คงศักดิ์ ตุ้ยสืบ  , อ านาจ  ผัดวัง  , วิระยะ  เดชแสง
                              1
                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                          2
                           ผู้ช่วยศาสตราจารย์  สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                              3
                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                                   4
                                    อาจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                                        5
                                         อาจารย์ สาขาไฟฟ้าก าลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                                   6
                                    อาจารย์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
                                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ล าปาง
                                                                          2
                                             1
                                                                                                 3
                       kooktan@hotmail.com ,euagchan_001@hotmail.com , nualsrij@hotmail.com ,
                                                                                               6
                                              4
                                                                         5
                         tuisuep@hotmail.com , PW_AMNAJ@hotmail.com , wirayo@hotmail.com

               บทสรุป
                       การมองหากิจกรรมที่ลดการสอนแบบบรรยาย เพิ่มการเรียนรู้จากการคิด และปฏิบัติ ผ่านกิจกรรม
               หรือ โครงงาน โดยถอดองค์ความรู้จากการฝึกอบรมด้านการพัฒนาการสอนจากบุคลากร น ามาสู่การศึกษา
               เกี่ยวกับการจัดการความรู้แบบบูรณาการสู่นวัตกรรมรูปแบบการเรียนการสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
               รูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสู่นวัตกรรม

               รูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
               ล้านนา ล าปาง โดยกลุ่มผู้ศึกษาคือคณาจารย์จากคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
               และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร จ านวน 35 ราย ภายใต้รูปแบบการจัดการความรู้ของ กรา
               เบรียล ซุลานสกี (Gabriel Szulanski) การศึกษาครั้งนี้เริ่มต้นจากกิจกรรมจัดการความรู้ประจ าปีการศึกษา

               2557  ได้มีข้อสรุปด้านรูปแบบการสร้างสรรค์การเรียนรู้จากชุมชนนักปฏิบัติ 4 รูปแบบคือ 1.รูปแบบที่เน้นให้
               นักศึกษาได้ปฏิบัติ  2.รูปแบบเน้นการเรียนรู้  3.รูปแบบเน้นความส าเร็จ  และ 4.รูปแบบที่เน้นการใช้
               กระบวนการ  ในปีการศึกษา 2558 สมาชิกจ านวน 22 รายที่เคยผ่านการพัฒนาโดยรูปแบบการเรียนการสอน

               ที่หลากหลายเข้าสู่กิจกรรมการจัดการความรู้ขององค์กรภายใต้หัวข้อ นวัตกรรมการเรียนการสอน การระดม
               สมองและบูรณาการระหว่างศาสตร์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นรูปแบบเฉพาะและเหมาะสมกับ
               บริบทของมทร.ล้านนา ล าปาง คือ CIMP ซึ่งเป็นอักษรย่อที่มาจาก (C) Coaching คือ   การสอนแบบเป็นพี่
               เลี้ยงให้กับนักศึกษา มีความใกล้ชิดและเข้าถึง (I) Innovation คือ การสอนแบบเน้นนวัตกรรมใหม่ มีรูปแบบ
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227