Page 235 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 235
229
ภาพที่ 4 ตัวรถส ารวจวัตถุต้องสงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi
ผลการทดลอง
การพัฒนารถส ารวจวัตถุต้องสงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi ได้ผลการทดลอง คือ รถส ารวจวัตถุต้อง
สงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi สามารถท าการเบิร์นโปรเกรมภาษา C ส่วนควบคุมลงบอร์ด popbot x2 โดย
ใช้โปรแกรม Arduino เป็นโปรแกรมที่เชื่อมต่อระหว่างบอร์ดกับคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมต่อระหว่างบอร์ด
ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่คือ Joystick ได้ สามารถแสดงผลปรากฎเป็น
ข้อความในการการเชื่อมต่อกับส่วนควบคุมคือ Joystick ผ่านทาง LCD และกล้องที่ติดตั้งบนตัวรถสามารถส่ง
ภาพในที่ๆ รถเคลื่อนที่ไป กลับมายังผู้ควบคุมในรูปแบบเรียลไทม์ส่งมายังโทรศัพท์มือถือได้ ซึ่งรถส ารวจวัตถุ
ต้องสงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในการท างานได้ดี
การเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงในการศึกษาการออกแบบ Microprocessor และการใช้ภาษา Cเพื่อ
ควบคุมการเคลื่อนที่ของรถส ารวจ และน าเทคโนโลยีของบอร์ด Arduino มาใช้ติดต่อสื่อสารผ่านตัวควบคุม
จอยสติ๊กไร้สาย (Joystick ) ในระบบ Wi-Fi เพื่อควบคุมรถให้สามารถเคลื่อนที่ได้ตามทิศทางที่ต้องการ
สามารถช่วยเก็บข้อมูลเพื่อการประเมินสถานการณ์ จุดเสี่ยงภัยก่อนส่งเจ้าหน้าที่ลงปฏิบัติการเป็นการลด
ภาวะการเสี่ยงภัยและการสูญเสียในการลงปฏิบัติงานในพื้นที่อันตรายต่าง ๆ
จากการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติในการสร้างรถส ารวจวัตถุต้องสงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi ยังเป็น
แนวทางในการพัฒนาระบบควบคุมต่าง ๆ ผ่านระบบ Wi-Fi ให้สามารถใช้งานกับภาระกิจต่าง ๆ หรือการ
น าไปประยุกต์ใช้กับการสอดแนบในทางการทหาร ด้านการรักษาความมั่นคง ในการประยุกต์ให้เกิดประโยชน์
ในการใช้งานต่อไป
อภิปรายผล
การพัฒนารถส ารวจวัตถุต้องสงสัยควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi ได้ผลการทดลอง คือ รถส ารวจวัตถุต้องสงสัย
ควบคุมผ่านระบบ Wi-Fi สามารถท าการเบิร์นโปรเกรมภาษา C ส่วนควบคุมลงบอร์ด popbot x2 โดยใช้
โปรแกรม Arduino เป็นโปรแกรมที่เชื่อมต่อระหว่างบอร์ดกับคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมต่อระหว่างบอร์ด
ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่คือ Joystick ได้ สามารถแสดงผลปรากฎเป็น