Page 293 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 293

287


                       3. ในการท าวิจัยก็จะเริ่มจากข้อเสนอวิจัยโดย ส าหรับการขอทุนวิจัยของมหาวิทยาลัยควรเริ่มจากการ
               ของบประมาณรายได้ก่อนเนื่องจากจะพิจารณาให้นักวิจัยรุ่นใหม่ที่เพิ่งเริ่มต้นท าวิจัย หลังจากนั้นจึงเริ่มเสนอ

               ของบประมาณแผ่นดิน ส าหรับการเขียนขอเค้าโครงวิจัย มีเทคนิค ดังนี้
                       3.1 ชื่อที่ตั้งให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่อยู่ในงานวิจัย เป็นเรื่องที่น่าสนใจในปัจจุบัน
                       3.2 ศึกษาความสอดคล้องของโครงการวิจัยกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โครงการวิจัยกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ   โครงการวิจัยกับ

               ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น   โครงการวิจัยกับยุทธศาสตร์ประเทศ   โครงการวิจัยกับนโยบาย/
               เป้าหมายของรัฐบาล
                       3.3 ระบุค าส าคัญ ที่มีความส าคัญต่อชื่อเรื่อง, เนื้อหา ที่วิจัย ควรมีค าส าคัญ 3-5 ค า
                       3.4 บทน าแสดงความส าคัญของการท าวิจัยเรื่องนี้ เขียนบทความที่กระชับ   ต้องสัมพันธ์กับชื่อ

               โครงการวิจัย
                       3.5 ระบุขอบเขตของการวิจัยในเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ   ระบุจ านวนประชากร ข้อมูลที่ใช้ทดลอง
               กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ท าวิจัย
                       3.6 แสดงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย    กรอบแนวคิดในการท าวิจัย

                       3.7 แสดงงานวิจัยที่มีความคล้ายคลึงกับงานวิจัยที่จะท าวรรณกรรมที่ทบทวน ที่มีระยะเวลาย้อนหลัง
               ไม่เกิน 5 ปี ควรมีไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีของงานวิจัย อาจจะมีระยะเวลา
               ย้อนหลังนานได้

                       จาก 3  เทคนิค  ได้มีการประกาศจากระดับคณะ และจัดท าเป็นคู่มือในการเผยแพร่เป็นลายลักษณ์
               อักษร (Explicit  Knowledge)  ผ่านเว็บไซต์ http://km.cpc.ac.th  (Demand-based)  และสังคมออนไลน์
               Facebook  ในกลุ่ม KM BUSIT-CPC  โดยมีการประชุมติดตามผ่านฟอร์มการน าไปใช้ และ การประชุมการ
               จัดการความรู้ของคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านวิจัย และ คณาจารย์คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี
               สารสนเทศ


                       ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
                       1. ผู้บริหารระดับคณะ มหาวิทยาลัยเห็นความส าคัญของการจัดการความรู้และส่งเสริมในการ
               ด าเนินการต่างๆของคณะกรรมการจัดการความรู้
                       2. คณาจารย์มีความตระหนักและถึงความส าคัญในการท าบทความวิจัย งานสร้างสรรค์ให้มีการตีพิมพ์

               เผยแพร่ น าไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติและนานาชาติ
                       3. คณาจารย์ให้ความร่วมมือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการด าเนินกิจรรมการจัดการความรู้และน าไป
               ถ่ายทอดยังคณาจารย์สาขาวิชา
                       4. คณาจารย์มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนางานวิจัยของตนเอง

                       5. ฝ่ายสนับสนุนระดับคณะ มหาวิทยาลัย ให้ความช่วยเหลือในการด าเนินงานด้านต่างๆของ
               คณะกรรมการจัดการความรู้

                       ประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินงาน
                       1. มหาวิทยาลัยมีจ านวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่เพิ่มขึ้น ที่ท าให้เป็นที่ยอมรับทั้งใน
               ระดับชาติและนานาชาติ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์ และ

               นวัตกรรมที่มีคุณภาพบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมศาสตร์
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298