Page 292 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 292
286
เทคนิคการเขียนขอทุนวิจัย การจะเขียนเค้าโครงวิจัยให้ได้รับการพิจารณาของมหาวิทยาลัยนั้น
จะต้องเขียนให้ได้ประโยชน์ และมีความน่าเชื่อถือ ตลอดจนควรมีการวางแผนให้ครบวงจร มองถึงผลที่จะได้รับ
จากงานวิจัย
เทคนิคการเขียนบทความวิจัย
1. แหล่งตีพิมพ์ ในการเลือกหล่งตีพิมพ์ควรเลือกวารสารที่มีคุณภาพ โดยพิจารณาที่มี Impact factor
การเขียนบทความวิจัยไม่ควรเป็นลักษณะการย่อความ ควรท าให้มีคุณค่าสกัดน าองค์ความรู้มาถ่ายทอดใน
บทความวิจัย
2. การน าเสนอบทความวิจัยควรมีความสั้น กะทัดรัด ชัดเจน พิจารณาว่าแหล่งที่ไปตีพิมพ์มีมาตรฐาน
ต้องการอะไร ควรร้อยเรียงเนื้อหาให้มีความเป็นเหตุเป็นผลกัน
3. การเขียนบทความวิจัย ควรสะท้อนความรู้ใหม่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยเน้นในด้านผลการวิจัย
ส่วนระเบียบวิธีวิจัยเป็นการน าเสนอสั้นและชัดเจน
การน าเสนอบทความวิจัย ควรพิจารณา เช่น การน าเสนอเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ
จะต้องวางแผน ระยะเวลาที่เผยแพร่ให้ตรงตามความต้องการ โดยตรวจสอบให้รอบคอบเพราะในการประกัน
คุณภาพการศึกษา การน าเสนอประชุมวิชาการจะต้องมีการพิจารณาในด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัยในที่
ประชุมวิชาการระดันานาชาติ หมายถึง การน าเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับ
สมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม(Proceedings) โดยมีกอง
บรรณาธิการจัดท ารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับ
ปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ 25
และมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น และบทความที่มาจากต่างประเทศ อย่างน้อย 3
ประเทศ และรวมกันแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 (ที่มา คู่มือการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ฉบับปี
การศึกษา 2557 หน้า 24) บทความคัดย่อแบบขยายความ เอกสารตีพิมพ์ฉบับสมบูรณ์ น าเสนอรูปแบบ
โปสเตอร์ และวารสารวิชาการ
เทคนิคการเขียนบทความให้ได้รับการตอบรับ คือ การเลือกวารสารไม่สอดคล้องกับสาระของ
บทความวิจัย และการขาดเสนอข้อคิดเห็นโต้แย้งอย่างมีเหตุผล การเขียนต้องเสนอความคิดเห็นให้เกิดข้อ
สงสัยและน าเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ด้านการขอต าแหน่งวิชาการ ให้ค าแนะน าคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านวิจัย ว่าควรศึกษา
หลักเกณฑ์ให้ชัดเจนและพิจารณาวิชาที่จะด าเนินเอกสารประกอบการสอน รวมทั้งการสร้างแรงบันดาลใจใน
การท าขอต าแหน่งวิชาการ
เทคนิคที่ 3 ผู้แลกเปลี่ยน ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารย์สมศักดิ์ รักเกียรติวินัย อาจารย์ประจ าสาขาวิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณ์ เทคนิคการเขียนการขอ
ทุนวิจัย และการเขียนบทความวิจัยให้รับการตีพิมพ์ ดังนี้
การเริ่มต้นด าเนินการวิจัย
1. กระบวนการให้ได้งานวิจัยในการท าวิจัยควรศึกษาปัญหา วิธีการแก้ปัญหา และผลลัพท์ที่จะได้
2. วิธีค้นหาโครงการวิจัย ควรศึกษา ค าส าคัญที่จะด าเนินการวิจัย และพยายามศึกษาวารสารทาง
วิชาการเอกสารการประชุมวิชาการเพื่อสามารถเข้าใจและเห็นภาพรวมเรื่องที่จะด าเนินการวิจัยมากขั้น