Page 289 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 289
283
enhance lecturers to obtain and make use of those available knowledge to self-developed
as well as execute their tasks with better efficiency. Besides to obtain this direction,
knowledge identification as well as management goals in accordance with strategic plans of
faculty is required. Furthermore, experienced lecturers in article research writing and
academic article will be public their articles in national and international level including
apply for academic professor techniques will be sharing their knowledge that collect
knowledge listen format and electronic media.
บทน า
ยุทธศาสตร์ระดับมหาวิทยาลัยมีแนวทางในการพัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่มี
คุณภาพบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมศาสตร์ ที่มีเป้าประสค์ของจ านวนรอยละของงานวิจัย
งานสรางสรรคมีการตีพิมพเผยแพรและ/หรือน าไปใชประโยชนในระดับชาติและนานาชาติตออาจารยประจ า
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงด าเนินการกิจกรรรม การจัดการความรู้ด้านวิจัย ท าให้เกิด
บรรยากาศความสนใจด้านวิจัยเพิ่มขึ้นให้กับคณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขต
จักรพงษภูวนารถ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบงานทางด้านวิชาการ ด้าน
การวิจัย ซึ่งในแต่ปีการศึกษามีบุคลากรได้รับการบรรจุเข้าท างานใหม่อย่างต่อเนื่อง บุคลากรใหม่ต้องมา
เรียนรู้งานและต้องใช้เวลาในการศึกษาให้เข้าใจในวิธีการท างาน และลักษณะงานแต่ละภารกิจต้องใช้ทักษะ
และความรู้ความช านาญหลายด้านในการปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ทางวิชาการ และการวิจัย ทางคณะบริหารฯ
จึงต้องการที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์การท างาน และแลกเปลี่ยนปัญหา
อุปสรรคในการท างาน และการปรับเปลี่ยนแก้ไข
คณะบริหารฯ ได้ให้ความส าคัญกับการสร้างและพัฒนาหน่วยงานฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้
ซึ่งมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบัน ซึ่งกระจัด
กระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้คณาจารย์ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึง
ความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้คณะบริหารฯมี
ความสามารถในการแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในคณะบริหารฯ ประกอบด้วย การ
ระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้ง
ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน การก าหนด
แนววิธีปฏิบัติงานตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ใน
มหาวิทยาลัยฯ ให้ดียิ่งขึ้น ทางคณะบริหารธุรกิจฯ จึงมีพันธกิจในการจัดการศึกษา การพัฒนางานวิจัย งาน
สร้างสรรค์และนวัตกรรม ซึ่งจากผลการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยที่ผ่านมา บทความวิจัย งานสร้างสรรค์ที่
ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ และ/หรือน าไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติและนานาชาติ ผู้ด ารงต าแหน่งทางวิชาการมี
จ านวนน้อย จากข้อมูลประกันคุณภาพภายในระดับคณะ
คณะบริหารธุรกิจฯ จึงมีนโยบายและสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านวิจัยขึ้น ในประเด็นความรู้:
เทคนิคการเขียนบทความวิจัย งานสร้างสรรค์ให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ และ/หรือน าไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติ
และนานาชาติ การขอต าแหน่งทางวิชาการ เพื่อเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์การท างาน และแลกเปลี่ยน
ปัญหา อุปสรรคในการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้คณาจารย์ในคณะ
บริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศมีจ านวนบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ตีเผยแพร่เพิ่มมากขึ้น
ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดงานวิจัย การพัฒนาและการสร้างนักวิจัยและผลงานวิจัย การเผยแพร่งานวิจัย ซึ่งเป็น