Page 299 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 299

293


































                               ผลผลิตที่ได้หลังจากการการบูรณาการความรู้ทางด้านเศรษฐกิจพอเพียง




               การน าไปใช้

                       ประชาชนชุมชนบ้านไสต้นวา ต าบลบ่อหิน อ าเภอสิเกา จังหวัดตรัง ได้น าความรู้ที่ได้จากการอบรมไป
               ใช้ประโยชน์ในการด าเนินชีวิตโดยการการสนับสนุนแก่สมาชิกในครัวเรือนและประชาชนในชุมชนได้ปฏิบัติ

               ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้มากขึ้น ด้วยการปลูกผักหลากหลายชนิดที่ปลอดสารพิษ ปลูกชะอมหรือพืช
               อื่นๆ ที่บริโภคได้รอบรั้วบ้าน การเพาะเห็ด ไว้บริโภคในครัวเรือน ส่วนเหลือจากการบริโภคก็สามารถน าไป
               จ าหน่ายในหมู่บ้านหรือตลาดใกล้เคียงหมู่บ้าน หรือน ามาแปรรูปขาย เช่น เห็ดทอด พริกป่น เป็นต้น
               การบูรณาการกับการเรียนการสอน

                       การบูรณาการความรู้ทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา
               วัฒนวิถีแห่งการด ารงชีวิต ภาคเรียนที่ 1  และ 2 ปีการศึกษา 2558  หัวข้อ เศรษฐกิจพอเพียงกับภูมิปัญญา
               ท้องถิ่น และรายวิชาชีวิตกับเศรษฐกิจพอเพียง ภาคเรียนที่ 1 แล 2 ปีการศึกษา 2558 หัวข้อ การประยุกต์ใช้

               เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน  ด้วยการปลูกพืชปลอดสารพิษโดยการน าภูมิปัญญา
               ท้องถิ่นมาใช้ เช่น การใช้ปุ๋ยคอก น้ าหมักชีวภาพ ก าจัดศัตรูพืชที่นักศึกษาปลูก เช่น ผักบุ้ง ผักคะน้า  มะเขือ
               มะนาว มะกรูด กล้วย ข้าวโพดฯลฯ และเกิดความร่วมมือโครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีข้าวลาซัง
   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304