Page 319 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 319

313


               ธรรมชาติก็ต้องเตรียมวัสดุล่วงหน้าเช่นกัน และยังต้องมีเวลาที่จะประดิษฐ์เป็นภาชนะรองรับอาหารอีกด้วย ท า
               ให้เวลาต้องมีการวางแผนในการเตรียมอาหาร และภาชนะที่จะรองรับ


               สรุป
                       การด าเนินการดังกล่าวเป็นการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในการเชื่อมโยง

               องค์ความรู้ ได้แก่ ชุมชนสวนหลวง 1 แม่ค้า พ่อค้าในชุมชนสวนหลวง 1  คณาจารย์วิทยากร และนักศึกษา
               สาขาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ นักศึกษาสาขาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ องค์กรในพื้นที่ คือ ส านักงานเขตบางคอแหลม และส านักงาน
               ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์  เป็นการเชื่อมโยงองค์ความรู้จากคณาจารย์ผู้ถ่ายทอด และนักศึกษาที่ศึกษาใน
               สาขาที่เกี่ยวข้องสู่กิจกรรมที่ลงพื้นที่ที่ด าเนินการวิจัยเพื่อให้เกิดผลต่อชุมชนสวนหลวง 1 และชาวชุมชนให้มี

               ความตระหนัก และเข้าใจในบริบทของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทั้งด้านพลังงานที่จะต้องดูแล บริหารจัดการ
               และด้านการใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ผลผลิต (outputs) ที่ได้คือค่าไฟฟ้าภายในชุมชนสวนหลวง
               1  ลดลงอย่างเห็นได้ชัดจากตารางและภาพด้านบน รวมถึงอาหารที่ถูกจัดใส่ในภาชนะธรรมชาติอย่างน่า

               รับประทาน จ านวนนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชมตลาดริมคลองสวนหลวง 1  สนใจหาซื้อไปบริโภคมากขึ้น
               ส าหรับผลลัพธ์ (outcomes)  ที่เกิดขึ้นจากการวิจัยดังกล่าว คือ กรรมการชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับ
               ความรู้ความเข้าใจในด้านพลังงานทดแทน ความรู้ในการคิดประดิษฐ์วัสดุธรรมชาติเป็นภาชนะใส่อาหาร และ
               อาหารที่บรรจุในภาชนะธรรมชาติไม่เป็นพิษต่อผู้บริโภค

               บรรณานุกรม

               กระทรวงพลังงาน. 2558. แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579
                       สืบค้น 28 กันยายน 2559 จาก http://www.eppo.go.th/images/POLICY/PDF/AEDP2015.pdf
               โซล่าเซลล์ ไทยแลนด์. 2556. การค านวณออกแบบ และเชื่อมต่อระบบโซล่าเซลล์. สืบค้นเมื่อ

                       22 สิงหาคม 2559 จาก http://solarcellthailand96.com/2013/09/blog-post. html
               ศุภชัย กวินวุฒิกุล. 2551. การประยุกต์ใช้ระบบควบคุมแผงโซล่าเซลล์ ให้เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์.
                      มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2559 จาก

                      http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/659/Applied%2
                      0Sun%20Tracking%20system%20for%20Solar%20cell.pdf?sequence=3
               สายสนม ประดิษฐดวง, ปนัดดา พวงเกษม และงามทิพย์ ภู่วโรดม. 2540. มิติใหม่ของภาชนะบรรจุเพื่อ
                      อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะ   อุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชา
                      วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร.

               ส านักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์. 2559. การอนุรักษ์พลังงาน. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2559
                       จาก http://www.dede.go.th/more_news.php?cid=27
               Chandler, L. David (2016). Hot new solar cell, System converts solar heat into

                       usable light, increasing device’s overall efficiency. Retrieved June 5,
                       2016 from http://news.mit.edu/2016/hot-new-solar-cell-0523
   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323   324