Page 322 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 322

316


                       1. ประชุมร่วมกันเพื่อก าหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผน
               กลยุทธ์ของโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

               การประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการเชิญคณะกรรมการประจ าโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมเทคโนโลยี
               คอมพิวเตอร์และเจ้าหน้าที่ประจ าโครงการจัดตั้งฯ จ านวน 12 คน ประกอบด้วย ประธานโครงการจัดตั้งฯ รอง
               โครงการจัดตั้งฝ่ายนโยบายและแผน รองโครงการจัดตั้งฝ่ายวิชาการและวิจัย รองโครงการจัดตั้งฝ่ายกิจการ
               นักศึกษา หัวหน้าส านักงานโครงการจัดตั้งฯ อาจารย์ประจ าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและอาจารย์ประจ า

               สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ประจ าโครงการจัดตั้งฯ เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก าหนด
               ประเด็นความรู้  และเป้าหมายการจัดการความรู้  คือ  ประเด็น  “ชั้นเรียนประกันคุณภาพ  โดยต้องการให้
               คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ สามารถสื่อสารข้อมูล  การมอบหมายงานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพแก่อาจารย์ใน
               โครงการจัดตั้งฯ และให้อาจารย์ส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย แชร์ข้อมูลซึ่งกันและกัน เพื่อลดภาระงานในการ

               เรียกเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานการประกันคุณภาพ เพื่อให้สามารถอ้างอิงหลักฐานได้ง่าย เป้าหมายในการ
               จัดการความรู้ คือ จ านวนหลักสูตรที่มีการใช้เครื่องมืออย่างน้อย 2 หลักสูตร
                      2. ก าหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะด าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาในการบริหารจัดการ “ชั้น
               เรียนประกันคุณภาพ” คือ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ในโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

                       3. แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge)
               เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ เผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ คณาจารย์และ
               เจ้าหน้าที่ของโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นประจ าทุกสัปดาห์ที่ 1 ของเดือน ตั้งแต่

               ปีการศึกษา 2557-ปัจจุบัน
                       4. รวบรวมความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่เป็นแนว
               ปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร  (Explicit
               Knowledge) ผ่านอีเมล์ และสังคมออนไลน์ Facebook ในกลุ่ม CET@CPC.RMUTTO และในปัจจุบันก็เป็น
               Line Group เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายเลือกใช้ความรู้ที่ต้องการได้

                       5. น าความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษา 2557 - ปีการศึกษา 2558 ที่เป็นลายลักษณ์
               อักษร และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดย
               มีการจัดท าเป็นแผนปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ

               ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน

                       ผลการด าเนินการจัดการความรู้  ด้านประกันคุณภาพ “ชั้นเรียนประกันคุณภาพ” ได้รับการตอบรับ
               จากอาจารย์ประจ าโครงการจัดตั้งฯ เป็นอย่างดี และช่วยแบ่งเบาภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการตามเก็บ
               เอกสารได้ดีขึ้น การเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ซึ่งสามารถสรุปเทคนิคได้ ดังนี้

                       ปีการศึกษา 2557 การประกันคุณภาพโดยใช้เครื่องมือ Dropbox ช่วยในการเก็บบันทึกข้อมูล แชร์
               เอกสารต่างๆ และในปีการศึกษา 2558 ได้มีปรับปรุง มาใช้เครื่องมือ Google Drive เพราะข้อมูลมีขนาดใหญ่
               ขึ้น และในปัจจุบันใช้เครื่องมือ Google  Classroom มาช่วยในการควบคุม ติดตาม โต้ตอบปัญหาระหว่าง
               บุคลากร

                       ผลที่ได้จากการน าเทคนิคไปใช้ ท าให้การด าเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ก่อเป็นเกิดประโยชน์ต่อ
               องค์กรอยู่ในระดับดี สามารถแชร์เอกสารข้อมูล และสามารถเปิดดูข้อมูลได้ง่าย โดยขอยกตัวอย่างผลการ
               น าไปใช้ ดังนี้
   317   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327