Page 372 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 372

366


               จัดการความรู้ด้านการเรียนการสอนเป็นผู้รับผิดชอบ  โดยมีขั้นตอนการด าเนินงานการจัดการความรู้ด้านการ
               เรียนการสอนดังต่อไปนี้


               กิจกรรมที่ 1  การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification)
                          แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อหาประเด็นความรู้จากครูที่มีประสบการณ์การจัดการเรียนรู้ศิลปะ ประชุม
               ระดมความคิดเพื่อก าหนดหัวข้อการจัดการความรู้ (Knowledge Mapping) วิทยาลัยมีการจัดการเรียนรู้

               เทคนิค กระบวนการสอน ด้านศิลปะ จัดเก็บเป็นคลังความรู้โดยแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้าน
               การเรียนการสอน วิทยาลัยช่างศิลปจ านวน 13 คน เป็นผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านดังนี้ ด้านศิลปะไทยและลายรด
               น้ า จ านวน 2 คน ด้านประติมากรรมจ านวน 1 คน  ด้านวาดเส้นจ านวน 3 คน ด้านจิตรกรรม จ านวน 1 คน
               ด้านองค์ประกอบศิลป์ จ านวน 1 คน ด้านภาพพิมพ์จ านวน 1 คน  ด้านออกแบบตกแต่ง จ านวน 1 คน ด้าน

               เครื่องเคลือบดินเผา จ านวน 1 คน ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก จ านวน1 คน และด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ 1 คน

                            คณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน  วิทยาลัยช่างศิลป ได้ระดมความคิดเพื่อ
               ค้นหาความรู้ด้านการเรียนการสอน เพื่อหาประเด็นหัวข้อหลักที่จะด าเนินการจัดการความรู้ โดยได้ประเด็น

               ความรู้ที่ต้องมีในการจัดการความรู้ ดังนี้




               ความรู้เรื่อง “การสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต”
                         องค์ประกอบความรู้
                         1.  การวิเคราะห์เนื้อหาทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติที่สัมพันธ์กับการสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต
                         2.  กระบวนการเรียนรู้ หลักการ เทคนิคและกรรมวิธีในการสาธิต

               โดยมีการแยกเป็นขอบเขตด้านเนื้อหาสาระในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
                         1.  การสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิตเป็นการบูรณาการความรู้ภาคทฤษฎีและการสอนศิลปะ
               ภาคปฏิบัติเพื่อให้เกิดทักษะ ความช านาญในวิชาชีพแก่ผู้เรียน

                         2.  กรรมวิธีการสอนศิลปะ ในลักษณะการสาธิตปฏิบัติ ให้ผู้เรียนได้ดู ทั้งในลักษณะกระบวนการ
               เรียนรู้แบบขั้นบันได การสอนเป็นรายบุคคล สร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความสามารถด้านมิติ
               สัมพันธ์ของผู้เรียน ในการเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ เช่น มุม ด้าน เส้น ขนาด สัดส่วน รูปทรง สี พื้นผิว พื้นที่ว่าง
               ระยะ มิติ กับทฤษฎีการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ รวมทั้งประสบการณ์ของผู้เรียนในลักษณะจินตภาพและทัศนคติ

               ภายใน  โดยสามารถถ่ายทอดออกมาได้ด้วย ทักษะ ความช านาญทางด้านศิลปะให้เกิดเป็นรูปธรรมในงาน
               ทัศนศิลป์หรือศิลปะประจ าชาติ
                                             โดยกลุ่มเป้าหมายได้ด าเนินการสรุปตัวบ่งชี้ความรู้ ของการจัดการเรียนการสอนศิลปะ ด้วย
               วิธีการสาธิตไว้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต  ตัวบ่งชี้ที่ 2 มีการจัดการ

               เรียนรู้ศิลปะด้วยวิธีการสาธิตทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ  และตัวบ่งชี้ที่ 3 มีกระบวนการเรียนรู้ เทคนิคและ
               กรรมวิธีในการสอนที่สัมพันธ์กับการสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต     โดยที่ประชุมมีมติให้มีเป้าหมายในการ
               จัดการความรู้ด้านการเรียนการสอนและได้ก าหนดเป้าหมายการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน เรื่อง
               การสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต จ านวน 7 คน จากรายชื่อกรรมการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน

               และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ จากกลุ่มอาจารย์ที่สอนวิชาศิลปะปฏิบัติ กลุ่ม
               อาจารย์ที่สอนวิชาทฤษฎีศิลป์  และกลุ่มอาจารย์ที่สอนวิชาศิลปะที่เน้นการสาธิต  โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้าน
   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377