Page 367 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 367

361


               น้อย  ถึงแม้ว่าผลิตภัณฑ์จะมีคุณภาพ แต่พบปัญหาการต่อยอดด้านการตลาด  ซึ่งวิธีการแก้ไขด้วยการสร้าง
               เครือข่ายกับกลุ่มหรือองค์กรนอกชุมชน 2.)  ด้านมาตรฐานสินค้าที่ยังไม่ได้รับการรับรองและแสดง

               เครื่องหมายการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์   โดยส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)  ที่ได้
               ก าหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตชุมชนในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ   ซึ่งชุมชนคาดหวังและต้องการให้
               ผลิตภัณฑ์และสินค้าของชุมชน  ซึ่งต่อจากนี้ไปชุมชนต้องเดินทางเรียนรู้  โดยความร่วมมือของคนในชุมชนเอง
               ไม่ว่าจะเป็นผู้น าชุมชน สมาชิกวิจัยชุมชน เพราะบทบาทหน้าที่ของทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

               มงคลพระนคร เป็นเพียงผู้จุดประกายและส่งเสริมแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เห็นเป็นรูปธรรม ชุมชนและ
               ภาคีเครือข่ายความร่วมมือและสานต่อการท างานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
                       แนวทางแก้ไข
                       รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มภาคกลางตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มภาค

               กลางได้แก่ จังหวัดประทุมธานี จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร และกรุงเทพมหานคร ยังมีช่องว่าง
               และความท้าทายของการท างานอีกหลายด้าน  ได้แก่
                      1.การศึกษาและวิเคราะห์การเข้าถึงองค์ความรู้สมัยใหม่ แหล่งเงินทุน ตลอดถึงการพัฒนา
               ความสามารถในการบริหารจัดการ การผลิต และการตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชน

                      2.การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการและดัชนีความส าเร็จผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนเพื่อให้ชุมชนอื่นและ
               หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปก าหนดนโยบาย วางแผน และสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตาม
               บริบทของตนเอง

                      3.การศึกษาความร่วมมือการพัฒนาสินค้าชุมชนและภาคีเครือข่ายนักวิจัยชุมชน เพื่อก าหนดทิศทาง
               มาตรการต่างๆ ในการส่งเสริมการผลิต การลงทุน และช่องทางการตลาด
                      4.การศึกษาความคิดเห็นของประชาชนและผู้บริโภคเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนและการมีส่วน
               ร่วมของประชาชนในชุมชน
                      5.การศึกษาแนวทางการจัดการความรู้ การแปรรุปผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวคิด

               เศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของประเทศไทย 4.0 ในปัจจุบัน

               กิตติกรรมประกาศ
                   การวิจัยฉบับนี้ด าเนินมา และส าเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเพราะผู้วิจัยได้รับความกรุณาแนะน า และความ
               ช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก ดร.กิตติชัย นวลทอง ผู้ช่วยผู้อ านวยการศูนย์วิจัย ธกส คุณณรงค์ฤทธิ์ อินทรสอน

               นักวิจัย ธกส ที่ให้ค าแนะน าในการแก้ไขปัญหา และข้อบกพร่องต่างๆ เป็นอย่างดี จึงท าให้งานวิจัยฉบับนี้
               เสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูง ไว้ ณ โอกาสนี้
                       ท้ายนี้ผู้วิจัยขอกราบขอบคุณศูนย์วิจัย ธกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร และกลุ่มวิจัย
               ชุมชนทุกกลุ่มที่ร่วมเป็นแรงใจ และให้ก าลังใจ ช่วยให้การสนับสนุนในการท างานวิจัยจนส าเร็จลุล่วงไปได้

               ด้วยดี ประโยชน์อันใดที่เกิดจากงานวิจัยครั้งนี้ เป็นผลมาจากความกรุณา และการสนับสนุนทุกท่าน ดังที่กล่าว
               มาแล้วข้างต้น ผู้วิจัยจึงใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

               บรรณานุกรม

               นวลน้อย บุญวงษ์. 2545. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

               นิรัช สุดสังข์. 2548. การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

               นิรัช สุดสังข์. 2547. ออกแบบอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371   372