Page 371 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 371

365


               constantly revolving so that the organization should demonstrate the need mentioned by
               defining an agenda of knowledge management in policy. Therefore the budget  personnel

               place    time  and  clearly    practices  are  necessary  to  allocate    in  order  to  support    the
               management of knowledge in the future.   It also led the institute  into the  organization of
               learning, which is responsible for outreach to the community and society by cultivating the
               skills, knowledge,  wisdom, national  art and  culture  and the  creative arts  students.   This

               brings about the feature of students that is composed of  moral and the appreciation of the
               aesthetic of art and the goodness value, and consisted of the ability to apply professional
               knowledge to benefit both themselves and society.

               Key words:  Student-centered Learning,  Arts Teaching,  Demonstration  Method



               บทน า


                            พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ก าหนดแนวทางในการจัดการศึกษาโดยต้องยึดหลักว่า ผู้เรียน

               ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด การสอนศิลปะด้วย
               วิธีการสาธิต ของวิทยาลัยช่างศิลปจึงเป็นการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานในการจัดการศึกษาที่มีความเข้าใจใน
               ธรรมชาติ และศักยภาพของผู้เรียนรวมทั้ง ลักษณะของ วัย สภาพครอบครัว ความเปลี่ยนแปลงของ
               สภาพแวดล้อม สังคม เทคโนโลยี และ วัฒนธรรม โดยเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมวางแผนใน
               การเรียนรู้ เกิดความเข้าใจถึงภาพองค์รวมและกระบวนการเรียนรู้ของวิชา รู้ถึงกระบวนการและการแก้ปัญหา

               ด้วยการปฏิบัติงานจริงและการได้รับประสบการณ์ตรง สามารถเลือก เนื้อหา กรรมวิธี และขบวนการ
               สร้างสรรค์ ค้นพบค าตอบในการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนเป็นที่ปรึกษา และจัดการ
               เรียนรู้ศิลปะ ที่เน้นกระบวนการ การสร้างความรู้ด้วยชิ้นผลงาน มีลักษณะของการบูรณาการ และวิธีการที่

               หลากหลาย โดยใช้ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ จากการพัฒนาตนเองไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของ
               ผู้เรียน ด้วยองค์ความรู้ เทคนิคและวิธีการสอน ในลักษณะการสาธิตปฏิบัติให้ผู้เรียนได้ดู ทั้งในลักษณะ
               กระบวนการเรียนรู้แบบขั้นบันได การสอนเป็นรายบุคคล สร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้และโอกาสให้ผู้เรียน
               ได้ฝึกฝนอย่างสม่ าเสมอ รวมทั้งการวัดและประเมินผลที่สัมพันธ์กับการสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต เพื่อพัฒนา

               ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของผู้เรียน ในการเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ เช่น มุม ด้าน เส้น ขนาด สัดส่วน
               รูปทรง สี พื้นผิว พื้นที่ว่าง ระยะ มิติ ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ รวมทั้งประสบการณ์ของผู้เรียน ในลักษณะ
               จินตภาพและทัศนคติภายใน โดยสามารถถ่ายทอดออกมาได้ด้วย ทักษะ ความช านาญทางด้านศิลปะให้เกิด
               เป็น รูปธรรม ในงานทัศนศิลป์ หรือศิลปะประจ าชาติ เป็นการพัฒนาปัญญาแต่ละด้านของผู้เรียนทั้งความคิด

               อารมณ์ การเข้าใจตนเองและผู้อื่น รวมถึงสภาพแวดล้อม ธรรมชาติและสามารถน าความรู้ ทักษะทางศิลปะไป
               สร้างอาชีพและการศึกษาเพิ่มเติมให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้


               วิธีการด าเนินงาน

               จัดท าแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) โดยผู้บริหารของวิทยาลัยช่างศิลปและก าหนดประเด็น

               ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานวิจัย การสร้างสรรค์ นวัตกรรม องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นที่
               ยอมรับ ทั้งในและต่างประเทศ มีองค์ความรู้ที่จ าเป็น (K) คือ  การสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต ก าหนดตัวชี้วัด
               (KPI) ด้วยจ านวนองค์ความรู้ด้านการสอนศิลปะด้วยวิธีการสาธิต  และมีผู้อ านวยการและคณะกรรมการการ
   366   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376