Page 87 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 87

81


               สรุป

                       จากการด าเนินงานถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านบริการวิชาการสู่ชุมชนตะโหมด มีการน าเครื่องมือการ
               จัดการความรู้ (KM  tools) มาใช้ด าเนินการทั้งหมด 7  ข้อ ซึ่งเมื่อติดตามผลหลังการด าเนินโครงการ  พบว่า
               ชาวบ้านได้รับประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆที่ได้จัดขึ้น ทั้งในส่วนของการน าไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเกี่ยวกับการ
               หุงต้ม เช่น พลังงานความร้อนจากเตาชีวมวล หรือการสร้างรายได้เสริมให้แก่ครอบครัวและกลุ่มชาวบ้านในชุมชน

               เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์เพื่อการจ าหน่าย กิจกรรมการเป็นเจ้าบ้านที่ดีและภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว
               สามารถเป็นแนวทางน าไปสู่การพัฒนาทางด้านการท่องเที่ยวของชุมชน ทั้งนี้จากการสรุปผลการด าเนินโครงการ
               พบว่า บรรลุวัตถุประสงค์โดยมีระดับผลการประเมินมากกว่า ร้อยละ 85 ความส าเร็จของการด าเนินโครงการใน
               ครั้งนี้ คือ สามารถท าให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นทั้งทางด้านการจ าหน่ายดอกไม้จันทน์และรายได้จากการที่มี

               นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในชุมชนท าให้ชาวบ้านสามารถจ าหน่ายผลผลิตที่มีอยู่ในชุมชนแก่ผู้มาเยือน เช่น ผลไม้
               ตามฤดูกาล ดังนั้น จึงน าไปสู่การด าเนินงานทางด้านบริการวิชาการแก่ชุมชนตะโหมดอย่างต่อเนื่องในปีถัดไป เพื่อ
               สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในด้านการด าเนินชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนอย่างยั่งยืน


               บรรณานุกรม
               สมพันธ์  เตชะอธิก. 2547. ศัพท์พัฒนาเพื่อชุมชนและสังคม. สถาบันวิจัยและพัฒนา  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

                        ขอนแก่น.
               สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน. 2558. คู่มือการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
                        เชียงใหม่. หน้า 17-19.
               ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2553. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
                        ระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพ. หน้า 36.
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92