Page 91 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 91

85


               ด ามักอาศัยตามหุบเขาทางตอนเหนือของแม่น้ าด า ที่เมืองลา ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
               ต่อมาจึงอพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย” (๒๕๒๘ : 72 -73)

                              ชาวไทยทรงด า (ลาวโซ่ง) ได้ถูกกวาดต้อนและอพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์
               ดังที่ สมทรง บุรุษพัฒน์  ได้กล่าวถึงเรื่องราวของ ไทยด า หรือ ไทยทรงด า (ลาวโซ่ง) ว่า “ชาวไทยด าถูกกองทัพ
               สยามกวาดต้อนเพื่อมาเป็นแรงงานในการเพาะปลูกข้าวเลี้ยงกองทัพสยาม เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวนั้นเป็นยุค
               “เป็นผักใส่ซ้า(ตะกร้า)จับข้าใส่นา” หมายความว่า เป็นช่วงเวลาที่มีการกวาดต้อนผู้คนมาเป็นแรงงานในไร่นา เพื่อ

               การเพาะปลูกข้าว ซึ่งสยามหรือประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าว  มีการท าศึกกับประเทศต่าง ๆ รอบเขตชายแดน
               ไม่ว่าจะเป็น พม่า เวียดนาม ลาว เขมร จึงท าให้กองทัพสยามหรือไทยต้องส่งก าลังแรงงานในการผลิตเสบียงส่ง
               มายังพระนคร นอกจากนี้ โดยลักษณะนิสัยของไทยทรงด ายังมีความขยัน ซื่อสัตย์และอดทน จึงเป็นที่ชื่นชอบของ
               สยามหรือประเทศไทย  พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) จึงพระราชทานที่ดินให้ตั้งถิ่นฐาน

               บริเวณ จังหวัดเพชรบุรี มีหน้าที่ท านาข้าว เพื่อส่งส่วยมายังพระนคร ( ๒๕๕๕ : ๖๗)
                            หลังจากช่วงยุคเวลากวาดต้อนผู้คนมาเป็นแรงงานนี้ไปแล้ว  จวบจนมีพระราชบัญญัติเลิกทาสในสมัย
               พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ชาวไทยทรงด า (ลาวโซ่ง) ได้รับการปลดปล่อยให้เป็นไทย
               (อิสรภาพ) และได้ออกเดินทางกลับบ้านเกิดเมืองนอนของตนที่เมืองแถนในแคว้นสิบสองจุไทย แต่การเดินทางกลับ

               ไม่ส าเร็จ  สมดังที่ตั้งเจตนารมณ์ไว้ เนื่องจากผู้น ากลุ่มที่ชราภาพและล้มตายลงระหว่างการเดินทาง บรรดา
               ลูกหลานจึงไม่สามารถเดินทางต่อไปได้ จึงได้ตั้งหลักปักฐานลงในดินแดนต่าง ๆ ตามรายทางที่เดินทางผ่าน ได้แก่
               จังหวัดเพชรบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม โดยเฉพาะที่อ าเภอบางเลน ซึ่งมีสภาพเป็นป่าในที่ราบสูง มีแม่น้ าและ

               ล าคลอง คล้ายบ้านเกิดของชาวไทยทรงด า(ลาวโซ่ง) ในแคว้นสิบสองจุไทยในสาธารณรัฐเวียดนามเหนือ  ปัจจุบัน
               สถานที่นี้จึงเป็นแหล่งชุมชนใหญ่แห่งหนึ่งของชาวไทยทรงด า (ลาวโซ่ง)
                              กลุ่มชนชาติพันธุ์ไทยทรงด า (ลาวโซ่ง) ลาวครั่ง ลาวเวียง ฯลฯ ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยล้วนเป็น
               ลูกหลานเชลยศึกที่กองทัพไทย (สยามในสมัยนั้น) กวาดต้อนมา  ซึ่งผ่านกาลเวลามากว่า ๒๐๐ ปีเศษ  แต่ประเพณี
               และความเชื่อถือในเรื่อง เทพเจ้า (พญาแถน) ของคนไทยทรงด า (ลาวโซ่ง) ยังคงมีอยู่ แต่จะมากหรือน้อยก็ขึ้นกับ

               ปัจจัยต่าง ๆ  เพราะเมื่อวันเวลาเปลี่ยนไป ย่อมเป็นเหตุที่ท าให้สภาพสังคม ศิลปวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลงตามไป
               ด้วย ปัจจุบันคนกลุ่มนี้ มีวิถีการด ารงชีวิตและรักษาวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น  และมีความเชื่อถือ
               ในพิธีกรรมบูชา “ผี” เหมือนกันทุกที่  แต่อาจแตกต่างกันในด้านเนื้อหาสาระ และขั้นตอนการประกอบพิธีกรรม

                             ผู้วิจัยเป็นข้าราชการพลเรือนคนหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ซึ่งมี
               ศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐม  ซึ่งมีกลุ่มชนชาติพันธุ์ไท-ลาว หลายกลุ่มอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก   แต่อย่างไรก็ตาม
               วิถีชีวิตและการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณี ย่อมมีการพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงจากอดีตสู่ปัจจุบัน  ดังที่ วิไล
               วรรณ  ขนิษฐานันท์  ได้กล่าวว่า “ การเปลี่ยนแปลงของภาษาและวัฒนธรรม ความว่า  “ สาเหตุของการสูญหาย

               ทางภาษาและวัฒนธรรมจะเกิดขึ้นได้ด้วยสาเหตุ  ๕ ประการ ได้แก่   ๑. การเป็นชนกลุ่มน้อย  ๒. การโยกย้ายที่
               ท าหากิน  ๓. การแต่งงานข้ามเผ่าพันธุ์กับคนที่ไม่ใช้ภาษานั้น   ๔. ไม่มีภาษาเขียนที่จะบันทึกเรื่องราวของชาชน
               ชาติตนเอง   ๕. ไม่ได้ใช้ภาษาและวัฒนธรรมในชีวิตประจ าวันตามปกติ” (๒๕๑๙ : ๒-๓)   ในทรรศนะของผู้วิจัยมี
               ความเห็นสอดคล้องกับแนวคิดข้างต้นว่า วัฒนธรรมมีโอกาสที่จะเกิดการสูญหายหรือเปลี่ยนแปลงได้ด้วยสาเหตุ

               ทั้ง ๕ ประการ  เพราะเมื่อเป็นวัฒนธรรมความเชื่อของชนกลุ่มน้อยในสังคม ประชาชนมีการโยกย้ายถิ่นที่อยู่กันไป
               มา  ไม่ได้อยู่ติดที่  รวมทั้งมีการแต่งงานกับคนที่ข้ามวัฒนธรรม จนไม่มีโอกาสจะประกอบพิธีกรรมตามที่ประพฤติ
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96