Notice: Function _load_textdomain_just_in_time was called incorrectly. Translation loading for the shortcodes-ultimate domain was triggered too early. This is usually an indicator for some code in the plugin or theme running too early. Translations should be loaded at the init action or later. Please see Debugging in WordPress for more information. (This message was added in version 6.7.0.) in /home/webkm/public_html/iknowledge/wp-includes/functions.php on line 6121

Notice: Function _load_textdomain_just_in_time was called incorrectly. Translation loading for the essential-addons-for-elementor-lite domain was triggered too early. This is usually an indicator for some code in the plugin or theme running too early. Translations should be loaded at the init action or later. Please see Debugging in WordPress for more information. (This message was added in version 6.7.0.) in /home/webkm/public_html/iknowledge/wp-includes/functions.php on line 6121
2565 – Page 3 – iKnowledge

การจัดทำคำเสนอของบประมาณเงินรายได้ประจำปี

โดย กิตตินันท์ จันทวงศ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  กองศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คลิกเพื่ออ่าน ยอดผู้เข้าชม : 262

Farm รู้ EP.5 | เนยถั่วดาวอินคา นวัตกรรมอาหารแนวใหม่ – ผศ. ดร.สิริรัตน์ พานิช

ศูนย์การจัดการความรู้เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจำปี 2564 ในรายการ Farm รู้ EP.5 เรื่อง “เนยถั่วดาวอินคา นวัตกรรมอาหารแนวใหม่” โดย ผศ. ดร.สิริรัตน์ พานิช   จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิจัยดีเด่นด้านการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างหัวใจแห่งการแบ่งปัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ งานวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ยอดผู้เข้าชม : 331

คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ของศูนย์การจัดการความรู้

โดย นายฉัตรชัย ศรีสม นักวิชาการศึกษา ศูนย์การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คลิกเพื่ออ่าน ยอดผู้เข้าชม : 1,549

ประโยชน์จาก“โปรตีน” แข็งแรงด้วยพืชผัก “เฮลตี้”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรลักษณ์ ปัญญาธิติพงศ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์จาก“โปรตีน” แข็งแรงด้วยพืชผัก “เฮลตี้” ผ่าน หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ วาไรตี้ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2565 ที่มา https://www.dailynews.co.th/articles/1489903/ ยอดผู้เข้าชม : 204

Farm รู้ EP.4 | ผ้าไทย…ใครว่าเชย – ผศ.ยุทธภูมิ สุวรรณเวช

ศูนย์การจัดการความรู้เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจำปี 2564 ในรายการ Farm รู้ EP.4 เรื่อง “ผ้าไทย…ใครว่าเชย” โดย ผศ.ยุทธภูมิ สุวรรณเวช จากคณะศิลปศาสตร์ ผู้ได้รับรางวัลผู้แต่งกายผ้าไทยดีเด่น ประจำปี 2564 ของมหาวิทยาลัย สร้างหัวใจแห่งการแบ่งปัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ งานวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ยอดผู้เข้าชม : 320

บทความ KM – “บ้านเชียง” ถอดบทเรียนจากรางวัลชนะเลิศท่องเที่ยวชุมชนเมืองรอง พ.ศ.2561

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถการ สัตยพาณิชย์ เมื่อพูดถึงชื่อ “บ้านเชียง” เชื่อว่าความรู้ทางประวัติศาสตร์ สมัยประถม มัธยม ผุดขึ้นมาในความทรงจำของใครหลาย ๆ คน ในฐานะที่บ้านเชียงเป็นแหล่งอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุมากกว่า 5,600 ปี ชุมชนบ้านเชียง ตั้งอยู่ที่ ต.บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีทุนตั้งต้นจากการเป็นแหล่งอารยธรรมเก่าที่สามารถดึงดูดความสนใจให้นักท่องเที่ยวได้ไปเยือน ส่วนต้นทุนที่สองก็คือ ดินแดนแห่งนี้เมื่อ 200 กว่าปีที่ผ่านมา มีกลุ่มคนที่อพยพจากเมืองพวนของลาวได้ข้ามแม่น้ำโขงมาลงหลักปักฐาน ตั้งแต่ พ.ศ.2360 นับเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวอีกอย่างหนึ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้วัฒนธรรมของพี่น้องชาติพันธุ์ชาวไทพวน ที่ปัจจุบันมีการผสมผสานเข้ากับวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ของพี่น้องชาวภาคอีสานได้อย่างลงตัว เมื่อ พ.ศ.2561 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือ ททท. ได้คัดเลือก 10 ชุมชนในเมืองรองทั่วประเทศมาประกวดประชันกัน ผมได้มีโอกาสไปเป็นกรรมการทั้งหมด 5 ชุมชน ประกอบด้วย 3 ชุมชนใน จ.น่าน ได้แก่ ชุมชนบ่อสวก ชุมชนน้ำเกี๋ยน และชุมชนบ้านเก็ต  อีก 1 ชุมชนอยู่ที่ อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ ชื่อชุมชนบ้านสนวนนอก และอีก 1 ชุมชนก็คือ ชุมชนบ้านเชียง […]

บทความ KM – Roi Et Brand : แนวคิดการสร้างแบรนด์ประทับตรารับรอง

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถการ สัตยพาณิชย์ เมื่อต้นเดือนพฤษภาคม 2561 ผมได้มีโอกาสไปเป็นคณะกรรมการตัดสินการประกวดตราสัญลักษณ์แบรนด์จังหวัดร้อยเอ็ด (Roi Et Brand) จัดขึ้นโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ด ก็ต้องถือว่าเป็นอีกครั้งที่ได้พบเห็นกิจกรรมในลักษณะนี้เกิดขึ้น และสะท้อนให้เห็นว่าหน่วยงานภาครัฐทุกวันนี้ให้ความสำคัญกับ แนวคิดการสร้างแบรนด์ กันมากขึ้น การสร้าง Roi Et Brand ของจังหวัดร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์เพื่อนำตราสัญลักษณ์แบรนด์ที่ชนะการประกวดไปประทับตราให้แก่สินค้าหรือบริการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ทางจังหวัดฯ กำหนดขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยสร้างความมั่นใจให้แก่ลูกค้าหรือผู้มาใช้บริการว่าสินค้าหรือบริการนั้นได้ผ่านการรับรองคุณภาพในด้านต่างๆ แล้ว ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา มีบางจังหวัดที่เริ่มสร้างแบรนด์ในลักษณะ Endorsed Brand ขึ้น เพื่อเป็นการประทับตรารับรองผลิตภัณฑ์ของจังหวัด เช่น สงขลา ก็มีแบรนด์ Best of Songkhla  ส่วน บุรีรัมย์ ก็ใช้ชื่อแบรนด์ว่า Buriram Brand เป็นต้น ในมุมมองของคนสร้างแบรนด์ก็จะรับรู้กันว่า Endorsed Brand เป็นการใช้แบรนด์หลัก (Masterbrand’s endorsement) มาเพื่อช่วยประทับตรารับรองความน่าเชื่อถือ และเป็นการช่วยสร้างการจดจำให้แก่สินค้าใหม่ที่ออกมาให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้รู้จักในเวลาอันรวดเร็ว อย่างเช่นตอนที่บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ควิก ออกวางตลาดใหม่ ๆ ก็จะใช้ Endorsed Brand คือแบรนด์  ไวไว  เพื่อสร้างความไว้วางใจให้แก่ลูกค้า โดยใช้ชื่อแบรนด์เต็มๆ ในการสื่อสารเพื่อให้คนรับรู้กันในชื่อ ไวไว ควิก แต่พอออกมาได้สักระยะ ก็ค่อยๆ ลดขนาดตัวอักษร ไวไว ให้เล็กลง ในขณะที่ตัวอักษรคำว่า ควิก มีการขยายให้ใหญ่ขึ้น การเลือกแนวทางการสร้างแบรนด์แบบนี้ คนที่สร้างแบรนด์ก็มีความตั้งใจและเชื่อมั่นเป็นเบื้องต้นแล้วว่าแบรนด์ใหม่ที่เกิดขึ้น อย่างในกรณี ควิก นั้นจะสามารถเติบโตได้ด้วยตนเอง หลังจากแบรนด์หลักได้ทำหน้าที่ประคับประคองไปสักระยะหนึ่ง ตัวอย่างแบรนด์ในต่างประเทศที่ใช้แนวคิดนี้ก็มีหลายแบรนด์ เช่น […]

บทความ KM – บ่อสวก-บ้านน้ำเกี๋ยน-บ้านเก็ต : บทเรียนการท่องเที่ยวชุมชน จ.น่าน

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถการ สัตยพาณิชย์ ในช่วงเดือนสิงหาคม 2561  ผมได้ไปเป็นกรรมการตัดสินการประกวดชุมชนท่องเที่ยวเมืองรองของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดย ททท. ได้คัดเลือกชุมชนเกรด A ทั่วประเทศ 10 ชุมชน มาประชันความพร้อมในด้านการจัดการท่องเที่ยว และในระหว่างการลงพื้นที่ก็มีการถ่ายทำสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน นำมาออกอากาศในรายการชุมชนชวนเที่ยว ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 ควบคู่กันไปด้วย ทริปที่ผมได้ไปเยี่ยมชมเป็น 3 ชุมชนในจังหวัดน่าน ประกอบด้วย ชุมชนบ่อสวก อยู่ที่ อ.เมืองน่าน ชุมชนบ้านน้ำเกี๋ยน อ.ภูเพียง ส่วนอีกชุมชนหนึ่งอยู่ที่อำเภอปัวคือ ชุมชนบ้านเก็ต ทั้ง 3 ชุมชนเรียกว่ามีจุดขายเป็นของตัวเอง และสามารถนำมาเป็นกรณีศึกษาในการสร้างแบรนด์การท่องเที่ยวชุมชนและผลิตภัณฑ์ OTOP ได้ ในการสร้างแบรนด์ชุมชนเพื่อให้มีผลกับการท่องเที่ยวและสินค้า OTOP นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือ การเริ่มต้นค้นหาเสน่ห์ของชุมชน ว่าชุมชนมีอะไรดี ไม่ว่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว รวมไปถึงทุนความรู้ ทุนประวัติศาสตร์ หรือทุนวัฒนธรรมของชุมชน อย่างเช่น บ้านน้ำเกี๋ยน ชุมชนที่มีชื่อเสียงจากการมีทุนความรู้ด้านสมุนไพร จนในวันนี้สามารถแปรรูปในเชิงอุตสาหกรรมเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรรูปแบบต่างๆ และได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน GMP มีสินค้าที่ได้ OTOP 5 ดาวถึง 5 ผลิตภัณฑ์ ส่วน […]

Farm รู้ EP.3 | หัวใจของการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา – อ.พัดยศ เพชรวงษ์

ศูนย์การจัดการความรู้เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจำปี2564 ในรายการ Farm รู้ EP.3 เรื่อง “หัวใจของการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา” โดย อาจารย์พัดยศ เพชรวงษ์ จากคณะศิลปศาสตร์ ผู้ได้รับรางวัลอาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น ประจำปี 2564 ของมหาวิทยาลัย สร้างหัวใจแห่งการแบ่งปัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ งานวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ยอดผู้เข้าชม : 285