Page 67 - M.P.A.(State Administration)
P. 67
58
ื่
ื่
น้อย 3 ปีการศึกษาต่อเนื่อง เพอให้เห็นแนวโน้มในการด าเนินงาน สามารถน าข้อมูลมาแปลผลเพอการ
พัฒนาได้อย่างมีประสิทธิผล
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ื่
หลักสูตรมีการบริหารจัดการเพอให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตร พ.ศ. 2557 ในประเด็นส าคัญ ดังนี้
5.1 สาระรายวิชาในหลักสูตร
หลักสูตรมีการออกแบบสาระรายวิชาโดยการก ากับ ติดตาม ควบคุม การจัดท ารายวิชาต่าง ๆ ให้มีเนื้อหาที่
ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอุตสาหกรรม 4.0 ก้าวทันความทันสมัยใน
สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการบริหารจัดการรายวิชาต่าง ๆ การเปิด-ปิด
รายวิชา ให้สอดคล้องกับแผนการเรียนที่ก าหนด สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา ผู้ใช้มหาบัณฑิต
และตลาดแรงงาน โดยเน้นการสอนที่ผู้เรียนเป็นส าคัญ กระบวนการที่ด าเนินการครอบคลุม (1)
การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา และ (2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าใน
ศาสตร์สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ ทั้งนี้หลักสูตรโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องมีการวิเคราะห์
ข้อมูลการเรียนการสอนทุกรายวิชา จากรายงานผลการด าเนินการรายวิชา (มคอ.5) ทุกภาคการศึกษา เพื่อ
หาประเด็นที่มีนัยส าคัญต่อการออกแบบรายวิชา ให้มีเนื้อหาสาระรายวิชาที่ทันสมัย เหมาะสมกับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เป็นประจ าทุกปีการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยศึกษาข้อมูลจากความคิดเห็นของผู้สอนและนักศกษาที่รายงานใน มคอ.5 ซึ่งจะเป็นนัยส าคัญที่
ึ
ื่
ต้องน ามาเขียนในรายงานผลการด าเนิการของหลักสูตร (มคอ.7) ต่อไป เพอการประเมินผล ปรับปรุง
ควบคุมและพัฒนา ในประเด็นการออกแบบสาระรายวิชาในหลักสูตรทุกปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการก าหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยค านึงถึงความรู้ ทักษะ และความ
เชี่ยวชาญในรายวิชาที่สอน รวมทั้งการท างานวิจัยและเป็นความรู้ที่ต้องทันสมัยของผู้สอน ที่ถูกมอบหมาย
ื่
ให้รับผิดชอบในรายวิชาที่สอน เพอให้นักศึกษามีโอกาสได้เรียนรู้จากผู้สอนที่มีประสบการณ์ และนักศึกษา
ได้รับการเรียนรู้จากผู้รู้จริง ส าหรับกระบวนการเรียนการสอน หลักสูตรต้องมีการด าเนินการให้ครอบคลุม
ประเด็น ดังนี้ (1) การก าหนดผู้สอน (2) การก ากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดท าแผนการเรียนรู้ (3)
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหน้าของศาสตร์
(4) การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องกับหัวข้อ (5)
์
ิ
ิ
การก ากับ ติดตามในการท าวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอสระรวมทั้งการตีพมพผลงาน ทั้งนี้หลักสูตรโดย
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) วิทยาลัยการบริหารแห่งรัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร