Page 35 - 4-2appgoogle
P. 35
29
2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของต าแหน่ง
2.1 หน้าที่ความรับผิดชอบของต าแหน่งตามมาตรฐานก าหนดต าแหน่ง
ตามมาตรฐานก าหนดต าแหน่งสายงานสารบรรณที่ก าหนดโดย ก.พ.อ. เมื่อ
วันที่ 21 กันยายน 2553 ระบุบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ ระดับ
ปฏิบัติการ ดังนี้
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานบริหารทั่วไปด้านการบริหารจัดการเอกสารหนังสือราชการ ภายในหน่วยงาน เริ่ม
ตั้งแต่การรับ - ส่ง การจัดท า การจัดเก็บรักษา การยืม การคัดแยก การติดตาม จนถึงการท าลาย
หนังสือราชการ ตามประเภทหนังสือ ประกอบด้วย หนังสือภายนอก หนังสือภายใน ค าสั่ง ประกาศ
ื่
เป็นต้น ภายใต้การก ากับ แนะน า ตรวจสอบของผู้บังคับบัญชา เพอให้การด าเนินงานด้านการ
บริหารงานเอกสารของหน่วยงานเป็นไปตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.
2526 พร้อมภาคผนวกฉบับแก้ไข พ.ศ. 2539 และค าอธิบาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ
ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
1. การจัดท าเอกสารการรับ – ส่ง และการเก็บหนังสือราชการ โดยการคัดแยกเอกสาร จด
บันทึกในสมุดทะเบียนรับ – ส่ง และจัดเก็บตามประเภทของหนังสือราชการแบ่งเป็น 6 ประเภท
1) หนังสือภายนอก
2) หนังสือภายใน
3) หนังสือประทับตรา
4) หนังสือสั่งการ
5) หนังสือประชาสัมพันธ์
6) หนังสือที่เจ้าหน้าที่ท าขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
์
ิ
งานสารบรรณ เป็นงานที่ท าตั้งแต่ คิด ร่าง เขียน พมพ ท าส าเนา ส่ง รับ บันทึก ย่อ
เรื่อง เสนอ สั่งการ ตอบ เก็บเข้าแฟ้ม และการค้นหา
2. การบริหารงานเอกสาร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามล าดับ ขั้นตอน คือ การวางแผน
การก าหนดหน้าที่และโครงสร้างการจัดเก็บเอกสาร การก าหนดระบบการจัดเก็บเอกสาร เก็บรักษา
การควบคุมงานเอกสารและการท าลายเอกสาร ภายใต้การก ากับ แนะน า ตรวจสอบของ
ผู้บังคับบัญชา
3. การจัดการเอกสาร โดยการรวบรวมเอกสารข้อมูล การรายงานผลการด าเนินงาน เมื่อ
ั
ด าเนินการเสร็จสิ้น เสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพอให้ข้อเสนอแนะและน ามาวางแผนพฒนาเพอให้การ
ื่
ื่
จัดการเอกสารมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
4. การผลิตเอกสารตั้งแต่การคิด ร่าง เขียน แต่ง พมพ ท าส าเนา มีหลายหน่วยงานจัดท า
ิ
์
ขึ้น การคิด ร่าง แต่ง จึงมีความส าคัญเป็นอย่างมาก ในการให้ค าปรึกษา แนะน า ในการปฏิบัติงาน