Page 26 - 5-15officerleave
P. 26
23
การได้รับค่าตอบแทนระหว่างลา
พนักงานมหาวิทยาลัยที่ได้รับอนุญาตให้ลาป่วย มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนในปีหนึ่งไม่เกิน 60 วัน
ิ
ท าการถ้าเกินระยะเวลาดังกล่าวเป็นอานาจของอธิการบดีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่จะพจารณาอนุมัติ
ให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาต่อไปได้อีกก็ได้ แต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 120 วันท าการ
ื่
หมายเหตุ : เพอไม่ให้การลาป่วยส่งผลกระทบต่อการไม่ได้เลื่อนค่าตอบแทน ควรดูเรื่องเกณฑ์การเลื่อน
ค่าตอบแทนของพนักงานมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งก าหนดไว้ว่า การลากิจ
ลาป่วย นับรวมกันต้องไม่เกิน 23 วันท าการ หรือ 8 ครั้ง ต่อ 1 รอบการประเมิน รอบที่ 1 (1 เม.ย.–30 ก.ย.)
รอบที่ 2 (1 ต.ค. – 31 มี.ค.)
ตัวอย่าง
- นายสมชาย เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยประสบอบัติเหตุกระดูกขาหัก และได้รับอนุญาต
ุ
การลาป่วยแล้ว 60 วัน โดยมีหัวหน้าหน่วยงาน (ผู้อานวยการส านักฯ) เป็นผู้อนุญาตการลาดังกล่าว ต่อมา
แพทย์ผู้ท าการรักษามีความเห็นให้ นายสมชาย ลาป่วยต่ออีก 30 วัน ผู้ที่มีอ านาจอนุญาตการลาป่วยในครั้งนี้
คือ อธิการบดี ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลส าหรับพนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ว่าด้วยวันเวลาท างาน หลักเกณฑ์การลา และการจ่ายค่าตอบแทนระหว่างลา
ของพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 ข้อ 9 วรรคสาม ได้ก าหนดให้การลาป่วยหรือลากิจส่วนตัวซึ่งมี
ระยะเวลาต่อเนื่องกัน จะเป็นในปีงบประมาณเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ให้นับเป็นการลาครั้งหนึ่ง ถ้าจ านวน
วันลาครั้งหนึ่งรวมกันเกินอานาจของผู้มีอานาจอนุญาตระดับใดให้น าใบลาเสนอขึ้นไปตามล าดับจนถึงผู้มี
อานาจอนุญาต ดังนั้น หากข้อเท็จจริงปรากฎว่า นายสมชาย จะขอลาป่วยซึ่งมีระยะเวลาการลาป่วย
ต่อเนื่องกัน โดยลาครั้งแรก 60 วัน ย่อมอยู่ในอานาจผู้อานวยการที่จะพจารณาอนุญาตการลา และ
ิ
ลาครั้งหลังเพมเติมอก 30 วัน รวมทั้งสิ้น (ครั้งแรก บวก ครั้งหลัง) เป็น 90 วัน (ให้นับเป็นการลาครั้งหนึ่ง)
ี
ิ่
ย่อมอยู่ในอ านาจอธิการบดี ที่จะพิจารณาอนุญาตการลาป่วยดังกล่าว
คู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการลาของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ส านักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร