Page 168 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 168

162


                       นอกจากนั้นคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ก็ให้การเอื้อเฟื้อเวลาและอุทิศตนเพื่อความช่วยเหลือหากเป็น
               ประโยชน์และสนับสนุนมหาวิทยาลัยเช่นกัน

                       3) ผู้ประสานงานและองค์กรในท้องถิ่น
                       ผู้ประสานงานและองค์กรท้องถิ่น ตลอดจนผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ให้
               ความร่วมมือกับทางคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และเป็นอย่างดี ทั้งในด้านของการให้ข้อมูล หรือการจัดเตรียม
               สถานที่ต่าง ๆ

                       4) กลุ่มอาชีพชุมชน
                       จากความต้องการการพัฒนาตนเองของกลุ่มอาชีพจึงนามาสู่การให้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์ต่อ
               นักศึกษารวมถึง  กลุ่มอาชีพชุมชนมอบเงินให้นักศึกษาเป็นขวัญและก าลังใจในค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าออกแบบ
               บรรจุภัณฑ์  ค่าออกแบบผลิตภัณฑ์และการวางแผนพัฒนา นอกจากนั้นกลุ่มอาชีพยังเปรียบเสมือนครูผู้ชี้

               แนวทางให้ข้อมูลเช่นกัน

               ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข

                       -  ปัญหา อุปสรรค
                              แม้ว่าผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ และด้านการวางแผนพัฒนา ที่ออกเป็นที่
               ประจักษ์ของกลุ่มอาชีพ และผู้ประสานงานอย่างไรก็ดียังมีสิ่งที่ต้องแก้ไขและปรับปรุงกล่าวได้ดังนี้
                              1.ศักยภาพของนักศึกษาแต่ละคนไม่เท่ากันทาให้งานที่ออกมายังไม่เป็นที่น่าพอใจของผู้สอน

               ถึงแม้ผู้ประกอบการจะยอมรับในผลงานนั้น
                              2.  นักศึกษาได้ออกภาคสนามเป็นครั้งแรกท าให้การเก็บข้อมูลไม่ครบถ้วนท าให้เสียเวลา
               เพิ่มขึ้น
                              3. กลุ่มอาชีพให้เวลาหลังจากการพบปะกัน น้อยเกินไป

                              4. นักศึกษายังไม่เข้าใจเรื่องการตลาดเท่าที่ควรท าให้นักศึกษาออกแบบตามอารมณ์ท าให้
               ผู้สอนต้องชี้แจงเพิ่มเติมท าให้ต้องเพิ่มเวลาสอนส่งผลให้ความเข้มข้นในการตรวจงานลดลง
                       -    แนวทางการแก้ไข
                              1.  ด าเนินการพัฒนาศักยภาพส่วนบุคคลโดยการหาความรู้เพิ่มเติมจากภายนอก และ

               สอบถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากทางอาจารย์ประจ าวิชา
                              2. พัฒนารูปแบบหรือเครื่องมือเพื่อใช้ในการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ
                              3. เพิ่มการติดต่อสอบถามกับผู้ประกอบการให้มากขึ้น


               ความท้าทายในการด าเนินกิจกรรมในอนาคต
                       จากการด าเนินงานกิจกรรมของ นักศึกษาระหว่างคณะของมหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว และ

               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ความท้าทายต่อไป คือ การเข้าไปด าเนินกิจกรรมร่วมในด้านการบูร
               ณาการร่วมจะหว่างนักศึกษาไทย นักศึกษาลาว และนักศึกษาญี่ปุ่น ณ นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐ
               ประชาธิปไตยประชาชนลาว

               สรุปผลการด าเนินงาน

                       จาการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการคัดเลือกตัวแทนนักศึกษา ตลอดจนถึงเข้าสู่การพัฒนา
               รูปแบบการเรียนการสอน ท าให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหมู่นักศึกษา หรืออาจารย์มี
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173