Page 169 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 169

163


               ความส าคัญอย่างมาก เพราะจะเป็นการระดมความคิดเพื่อที่จะท าให้กิจกรรมนั้น ๆ ส าเร็จลุล่วง ได้ได้อย่างมี
               ประสิทธิภาพ

                       เพื่อเป็นต้นแบบให้นักศึกษาในชั้นปีต่อไปสามารถด าเนิการต่อยอดจากผลงานการออกแบบในด้าน
               ของบรรจุภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ และสถาปัตยกรรม รวมถึงการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนถือเป็นการ
               แข่งขันในรูปแบบที่เป็นสากลมากขึ้นดังนั้นความท้าทายต่อไป ดังนี้คือ
                              1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ และด้านสถาปัตยกรรม ที่สามารถ

                                  สื่อสารต่อการรับรู้ที่เป็นสากล
                              2. การเป็นแนวทางหรือต้นแบบการเรียนแบบบูรณาการให้กับประเทศใน
                                 อาเซียน
                              3. การให้การบริการด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์กับผลิตภัณฑ์ชุมชนในแถบ

                                 ประเทศเพื่อนบ้าน
                              4. โครงการจัดตั้งบริษัท เสมือน เพื่อการเรียนรู้ด้านธุรกิจการออกแบบบรรจุ
                                  ภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และสถาปัตยกรรมด้วย การสร้างต้นแบบ
                                  โครงสร้างที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อต่อยอดสู่การค้า

                              5. พัฒนารูปแบบการเรียนให้เป็นการสอนโดยพื้นที่จริงทุกรายวิชา

               บรรณานุกรม

               นายธานี  สุคนธะชาติ. 2557. “การบูรณาการการเรียนการสอนสู่การบริการวิชาการ ตอน สลับแขกเป็นเจ้า
                        บ้าน” จาก http:/webkm.rmutp.ac.th/km/การบูรณาการเรียนการสอน/ส านักงาน ก.พ.ร. และ
                        สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. 2548. “ คู่มือการจัดการความรู้ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ”  จาก
                        www.opdc.go.th/Law/File_download/1137568873-11.doc

               วิจารณ์ พานิช. 2551. การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์สุขภาพใจ
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174